Page 16 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 16
ลักษณะอักขรวิธีและเครื่องหมายโบราณ
เนื่องจำกกำรเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนที่มิได้รับรำชกำรในกรมอำลักษณ์ มักมีลักษณะเฉพำะ
เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล และเป็นยุคสมัยที่คนไทยยังไม่มีกำรประกำศใช้พจนำนุกรมเพื่อก�ำหนดหลักเกณฑ์
เป็นมำตรฐำนให้สะกดค�ำที่มีควำมหมำยเดียวกันเหมือนกันทั่วประเทศ ดังนั้นกำรผสมค�ำเพื่อกำรอ่ำนจึงเป็นไป
อย่ำงอิสระ มีรูปแบบแตกต่ำงกันตำมแต่ส�ำนักที่เรียนแต่ละแห่งนิยม หำกส�ำนักเรียนนั้นอยู่ใกล้ควำมเจริญ เช่น
พระรำชวัง หรือวัดในกรุงกำรเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนที่ชัดเจนและถูกต้อง มำกกว่ำ ด้วยเหตุดังกล่ำวกำรใช้
๑
รูปอักษรเขียนค�ำ เพื่อสื่อควำมหมำยให้อ่ำนออกเสียงได้เข้ำใจตำมภำษำพูด ที่ใช้กันในท้องถิ่น จึงมีควำมส�ำคัญมำก
ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อกำรใช้รูปพยัญชนะ รูปสระส�ำหรับสะกดค�ำได้หลำกหลำยรูปแบบ แม้จะมีควำมหมำย
เช่นเดียวกันก็ตำม เช่น ค�ำว่ำ กำนชำ กำรชำ ก้รรชำ กันชำ เป็นต้น เห็นได้ชัดเจนว่ำ กำรเขียนหนังสือของคนไทย
สมัยก่อนเขียนตำมเสียงพูด เพื่อให้สำมำรถอ่ำนออกเสียง และเข้ำใจควำมหมำยได้โดยไม่ให้ควำมส�ำคัญกับวิธีกำรเขียน
นอกจำกนั้นสมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำด�ำรงรำชำนุภำพ ยังได้อธิบำยถึงลักษณะกำรเขียน
๒
ข้อควำมลงในหนังสือสมุดไทยว่ำมี ๓ ลักษณะ คือ
๑. ลักษณะกำรเขียนหนังสืออย่ำงอำลักษณ์ ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนเป็นผู้มีควำมรู้ ฝึกหัดงำนเขียน
จำกข้ำรำชกำรในกรมอำลักษณ์หรือจำกผู้รู้หลัก ผู้รู้เหล่ำนี้จะมีควำมรู้ควำมสำมำรถในทำงอักษรศำสตร์ จึงเขียนหนังสือ
ได้ถูกต้อง สวยงำม เป็นระเบียบตำมแบบฉบับ
๒. ลักษณะกำรเขียนอย่ำงหนังสือเสมียน ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนหัดเขียนแต่หนังสือหวัด เพื่อกำรเขียน
ให้เร็วและข้อควำมไม่ตกหล่นเป็นหลัก ส่วนอักขรวิธีนั้นไม่ถือเป็นเรื่องส�ำคัญ เน้นเฉพำะเพื่อกำรอ่ำนเข้ำใจ
ในควำมหมำยของข้อควำมที่ต้องกำรสื่อสำรเท่ำนั้น
๓. ลักษณะกำรเขียนอย่ำงหนังสือหวัด ได้แก่ หนังสือที่เขียนให้มีลักษณะคล้ำยตัวบรรจง แต่ไม่กวดขัน
ในทำงอักษรศำสตร์ ไม่มีรูปแบบแห่งกำรเขียนอันเป็นแบบฉบับที่แน่นนอน มีควำมประสงค์เพียงเพื่อให้สำมำรถ
อ่ำนได้รู้เรื่องเท่ำนั้น กำรเขียนเช่นนี้ จึงมีทั้งกำรเขียนตกหล่น และเพิ่มเติมข้อควำมตำมควำมประสงค์ของผู้เขียน
เป็นส�ำคัญ
๑ ก่องแก้ว วีระประจักษ์, “ลักษณะอักขรวิธีต้นฉบับหนังสือกฎหมำยตรำสำมดวง”, กฎหมำยตรำสำมดวงฉบับรำชบัณฑิตยสถำน,
กรุงเทพ : รำชบัณฑิตยสถำน, ๒๕๕๐, หน้ำ ๒๗.
๒ “สำส์นสมเด็จเล่ม ๒๖”, กรุงเทพ : คุรุสภำ, ๒๕๒๕, หน้ำ ๑๕๘-๑๖๒.
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทยพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย -ญ-
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแ