Page 11 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 11

ภาคผนวก ๑ เภสัชวัตถุ (Medicinal material, Materia Medica)

                      เป็นภำคผนวกที่รวมตัวยำหรือเภสัชวัตถุ ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธำตุวัตถุทั้งหมดที่เป็นส่วนประกอบ
            ของต�ำรับยำในรูปของตำรำง โดยแต่ละช่องจะให้ข้อมูลดังนี้

                      ●   ชื่อไทย (Thai title) หมำยถึง ชื่อตัวยำที่ระบุในสูตรต�ำรับยำ โดยเป็นชื่อที่เรียกหรือรู้จักเป็นสำกล

                        ในปัจจุบัน ซึ่งอำจแตกต่ำงจำกชื่อที่ใช้เรียกหรือเขียนในเอกสำรต้นฉบับเดิม โดยเรียงชื่อตัวยำ
                        ตำมล�ำดับอักษรภำษำไทย ก-ฮ ในแบบพจนำนุกรม
                      ●   ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อวิทยำศำสตร์ของสมุนไพรที่เป็นต้นก�ำเนิดของตัวยำ

                        ประกอบด้วย ชื่อสกุล (genus) เขียนด้วยตัวเอน ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ตำมด้วยชื่อระบุชนิด
                        (specific epithet) ซึ่งเขียนด้วยตัวเอนเช่นกัน ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์เล็ก และชื่อผู้ตั้งชื่อ (author’s

                        name) ที่เขียนด้วยตัวอักษรปรกติ ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ ทั้งนี้อำจใช้ชื่อย่อตำมที่ก�ำหนดในหนังสือ
                        Authors of Plant Names* และฐำนข้อมูล The Plantlist** และฐำนข้อมูล Plants of the
                        World Online*** หำกพืชสมุนไพรชนิดใดสำมำรถระบุพันธุ์ (variety) หรือพันธุ์ปลูก (cultivar) ได้

                        ก็จะระบุไว้หลังชื่อ โดยใช้ตัวย่อ var. หรือ cv. ตำมล�ำดับ แล้วตำมด้วยชื่อพันธุ์หรือชื่อพันธุ์ปลูก

                      ภาคผนวก ๒ การเตรียมตัวยาก่อนใช้ปรุงยา (Prepreparation of crude drug)

                      เนื่องจำกตัวยำบำงชนิดมีฤทธิ์แรงเกินไปหรือมีพิษมำก อำจเป็นอันตรำยต่อผู้ป่วยได้ หรือตัวยำบำงชนิด
            อำจไม่สะอำด มีเชื้อโรคปนเปื้อน หรือมีควำมชื้นมำกเกินไป ตัวยำเหล่ำนี้จึงต้องผ่ำนกระบวนกำรประสะ สะตุ

            หรือ  ฆ่าฤทธิ์  ก่อนน�ำมำใช้ปรุงยำ  เพื่อควำมปลอดภัยของผู้บริโภค  ภำคผนวกนี้จึงน�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
            กำรประสะ สะตุ หรือฆ่ำฤทธิ์ของตัวยำบำงชนิดก่อนน�ำไปใช้


                      ภาคผนวก ๓ วิธีการปรุงยา (Compounding of traditional medicinal preparation)
                      ชุดต�ำรำภูมิปัญญำกำรแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยำแผนไทยของชำติที่เข้ำตัวยำกัญชำ
            มีรูปแบบของยำเตรียมที่ส�ำคัญ 7 วิธี ได้แก่ ยำต้ม, ยำผง, ยำเม็ด, ยำลูกกลอน, ยำประคบ, ยำขี้ผึ้ง และยำน�้ำมัน

            ซึ่งภำคผนวกนี้ได้อธิบำยกระบวนกำรผลิตยำแต่ละรูปแบบโดยละเอียด

                      ภาคผนวก ๔ อภิธานศัพท์ (Glossary)

                      เป็นบัญชีค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกำรแพทย์แผนไทย โรคหรืออำกำรทำงกำรแพทย์แผนไทย รวมทั้ง

            ศัพท์ทำงเภสัชกรรมไทยที่กล่ำวถึง  ส่วนใหญ่น�ำมำจำก “พจนำนุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย”
            ของกรมกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก ส่วนค�ำศัพท์ที่ยังไม่มีในพจนำนุกรมดังกล่ำว คณะท�ำงำนฯ
            และคณะอนุกรรมกำรฯ ที่เป็นผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรแพทย์แผนไทยได้ร่วมกันพิจำรณำ ปรับแก้ เพื่อจัดท�ำควำมหมำย
            ของค�ำศัพท์เหล่ำนั้นขึ้น








            * Brummit RK, Powell CE. Authors of plant names. London: Royal Botanic Gardens, Kew. 1992.
            **The Plant List (2013). Version 1.1. Published on the Internet; http://www.theplantlist.org/(accessed 1st
            September 2021).
            *** Board of Trustees of the Royal Botanic Gardens, Kew Published on the Internet;
            http://www.plantsoftheworldonline.org/ (accessed 1st September 2021)



           -จ-   ชุดต�าราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ารับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16