Page 21 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 21

พฤกษศาสตร์ของกัญชา*






                      กัญชำเป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ล�ำต้นตั้งตรง สูง ๑-๕ เมตร มีขนสีเขียวอมเทำและไม่ค่อยแตกกิ่ง ใบเดี่ยว
            เรียงสลับ รูปฝ่ำมือ ขอบใบเว้ำลึกจนถึงจุดโคนใบเป็น ๕-๗ แฉก แต่ละแฉกรูปยำวรี กว้ำง ๐.๓-๑.๕ เซนติเมตร

            ยำว ๖-๑๐ เซนติเมตร โคนและปลำยสอบ ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบด้ำนบนสีเขียวเข้มกว่ำด้ำนล่ำง ดอกขนำดเล็ก
            แยกเพศต่ำงต้น (แต่อำจพบต้นที่มีดอกแยกเพศร่วมต้นได้บ้ำง) ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อตำมซอกใบและปลำยกิ่ง

            มีกลีบชั้นเดียว ๕ กลีบ กลีบไม่ติดกัน เกสรเพศผู้มี ๕ อัน ดอกเพศเมียเมียออกเดี่ยวตำมซอกใบและปลำยยอด
            แต่ละดอกมีใบประดับสีเขียวเข้ม คล้ำยกำบและมีขนเป็นต่อมหุ้มอยู่ ไม่มีกลีบดอก มีรังไข่ ๑ อัน ภำยในช่องเดียว

            ผลเป็นแบบผลแห้งเมล็ดล่อน ขนำดเล็ก เกลี้ยง สีน�้ำตำล ช่อดอกเพศเมียของกัญชำเรียก “กะหลี่กัญชำ” (แต่บำงท้องที่
            อำจเรียก “กะเต็น”)


                      ส่วนใหญ่กัญชำเป็นพืชที่ปรับตัวได้ดีในทุกสภำพอำกำศ ดิน แมลงศัตรูพืช เป็นต้น จึงท�ำให้กัญชำพันธุ์
            เดียวกัน หำกน�ำไปปลูกในอีกสถำนที่หนึ่งที่สภำพอำกำศ ดิน ตลอดจนกำรดูแลที่ต่ำงกัน จะท�ำให้กัญชำพันธุ์นั้น

            สำมำรถปรับตัวเข้ำกับสภำพแวดล้อมใหม่ ส่งผลต่อลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ของพืช อำจท�ำให้ควำมสูงแตกต่ำงกัน
            กำรเรียงตัวของใบต่ำงกัน ตลอดจนกำรสร้ำงสำรองค์ประกอบเคมีอำจจะแตกต่ำงกัน นอกจำกนี้ พืชกัญชำยังสำมำรถ

            ผสมข้ำมสำยพันธุ์ เนื่องจำกโดยทั่วไปพืชกัญชำส่วนใหญ่มีดอกที่แยกเพศต่ำงต้น หำกเกสรเพศผู้ของกัญชำสำยพันธุ์
            หนึ่งผสมพันธุ์กับเกสรเพศเมียของกัญชำอีกสำยพันธุ์หนึ่ง ก็จะเกิดกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ขึ้น อำจท�ำให้สำยพันธุ์ใหม่

            ที่มีควำมแตกต่ำงกันออกไป พบว่ำเกสรเพศผู้ของกัญชำสำมำรถปลิวไปได้ไกลถึงรำว ๑๐๐ กิโลเมตร จึงท�ำให้กัญชำ
            มีลักษณะที่อำจแตกต่ำงกันออกไปตำมแต่ละสำยพันธุ์ จึงน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่ำงหลำกหลำย โดยอำจให้เส้นใย

            ที่เหนียวและทนทำน ใช้เป็นยำใช้สูบ เพื่อสันทนำกำร เป็นต้น
                      เนื่องจำกมนุษย์รู้จักใช้ประโยชน์จำกกัญชำมำแต่โบรำณ พืชกัญชำจึงพัฒนำเป็นพืชปลูกทั้งในเขตร้อน

            และเขตอบอุ่นทั่วไป ใน พ.ศ. ๒๒๙๖ ลินเนียส (Linnaeus) นักพฤกษศำสตร์ชำวสวีเดนเป็นผู้ตั้งชื่อวิทยำศำสตร์
            ของกัญชำเป็นคนแรกว่ำ Cannabis sativa L. และจัดให้อยู่ในวงศ์ Cannabaceae ตีพิมพ์ ในหนังสือชื่อ

            Species Plantarum ต่อมำในปี พ.ศ. ๒๔๑๘ ลำมำร์ค (Lamarck) นักธรรมชำติวิทยำ ชำวฝรั่งเศสได้เสนอ
            ชนิดของกัญชำเป็น ๒ ชนิด คือ C. sativa เป็นกัญชำชนิดที่ปลูกในประเทศทำงซีกโลกตะวันตก และ C. indica Lam.

            เป็นพืชกัญชำป่ำที่พบในธรรมชำติที่อินเดียและประเทศเพื่อนบ้ำน ต่อมำภำยหลังมีกำรเสนอชนิด  C. ruderalis
            Janisch. อีกด้วย อย่ำงไรก็ตำม ปัจจุบันนักพฤกษศำสตร์ยอมรับว่ำพืชกัญชำ มีชื่อวิทยำศำสตร์ที่ถูกต้องเพียงชื่อเดียว

            คือ Cannabis sativa L. และชื่ออื่นเป็นชื่อพ้อง

                      อย่ำงไรก็ตำม มีผู้เสนอให้แบ่งพืชกัญชำ เป็น ๒ กลุ่มย่อยตำมลักษณะทำงพฤกษศำสตร์และสำรกลุ่ม
            แคนนำบินอยด์ที่พบ คือ กลุ่ม sativa-type และกลุ่ม indica-type ซึ่งมีรำยละเอียดตำม ตำรำงที่ 3















           -ฒ-   ชุดต�าราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ารับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26