Page 24 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 24
๙
สารกลุ่มแทรนส์-เดลต้า -เททระไฮโดรแคนนาบินอยด์ (trans-Δ -tetrahydrocannabinol,
9
Δ -THC types)
9
9
ปัจจุบันสำมำรถแยกสำรกลุ่มนี้ได้กว่ำ ๑๐ ชนิด โดยสำรส�ำคัญหลักในกลุ่มนี้คือ สำร Δ -THC
พบครั้งแรกโดย Gaoni และ Mechoulam ใน พ.ศ. ๒๕๐๗ สำร Δ -THC นี้มีฤทธิ์กระตุ้นตัวรับแคนนำบินอยด์
9
(cannabinoid receptors) แบบ partial agonist ทั้ง ๒ ชนิด คือ ชนิด CB1 และ CB2 ท�ำให้เกิดกำรกระตุ้น
ระบบประสำท (psychotropic effect) นอกจำกนี้ สำร Δ -THC ยังท�ำปฏิกิริยำกับตัวรับอื่น ๆ ได้อีกหลำยชนิด
9
จึงออกฤทธิ์อื่น ๆ ได้ เช่น ต้ำนอำเจียน แก้ปวด ต้ำนมะเร็ง ลดควำมดันในลูกตำ ท�ำให้เจริญอำหำร อย่ำงไรก็ตำม
9
พบว่ำสำร Δ -THC อำจท�ำให้เกิดกำรติด (addiction) และควำมวิตกกังวล (anxiety) ได้
สารกลุ่มแคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD type)
สำรกลุ่มนี้ที่พบมี CBD และ กรดแคนนำบิซิออลิก ซึ่งเป็นสำรส�ำคัญที่แยกได้จำกกัญชำชนิดที่ให้เส้นใย
สำร CBD นี้ ออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับแคนนำบินอยด์ได้น้อยกว่ำ Δ -THC ซึ่งอำจส่งผลในกำรเป็นตัวควบคุม
9
ทำงลบ (negative modulator) ของทั้ง CB1 และ CB2 ท�ำให้ CBD เป็นสำรที่ไม่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสำท
(non-psychoactive effect) ปัจจุบันยังพบอีกว่ำ CBD สำมำรถออกฤทธิ์ผ่ำนตัวรับอีกหลำยชนิด ท�ำให้ CBD
สำมำรถออกฤทธิ์ต้ำนอักเสบ แก้ปวด คลำยกังวล ต้ำนมะเร็ง ต้ำนกำรคลื่นไส้อำเจียน ต้ำนกำรชัก เป็นต้น
สารกลุ่มแคนนาบิโครมีน (cannabichromene, CBC type)
สำร CBC เป็นสำรที่เสถียรที่สุดในกลุ่มแคนนำบินอยด์ สำร CBC พบมำกในระยะที่กัญชำก�ำลังเจริญเติบโต
(vegetative stage) สำรประเภทนี้ไม่ออกฤทธิ์ต่อ CB1 แต่สำมำรถลดกำรอักเสบผ่ำนกำรกระตุ้น ที่ transient
receptor potential channel (TRPA1) นอกจำกนี้ ยังพบว่ำ CBC ยังมีกลไกลดกำรอักเสบอื่น เช่น สำมำรถ
ลดไนทริกออกไซด์, IL-10, interferon-γ
สารกลุ่มแคนนาบิเจอรอล (cannanigerol, CBG type)
สำรกลุ่มนี้ไม่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสำท (non-psychoactive effect) ที่ผ่ำนกำรกระตุ้นที่ CB1 โดยสำร
สกัดกัญชำที่มีปริมำณ CBG สูง (ไม่มี Δ -THC) สำมำรถเพิ่มกำรกินอำหำรของหนูได้ นอกจำกนี้ สำร CBG ยังกระตุ้น
9
กำรท�ำงำนของ α-2 adrenergic receptor ท�ำให้เกิดฤทธิ์ในกำรนอนหลับ คลำยกล้ำมเนื้อ แก้ปวด ได้อีกด้วย
สารกลุ่มแคนนาบินอล (cannabinol, CBN type)
สำรกลุ่มนี้ได้จำกกำรเกิดปฏิกิริยำออกซิเดชันของสำร Δ -THC มักพบในกัญชำที่แห้งและเก็บไว้นำน
9
9
สำรนี้สำมำรถจับกับตัวรับแคนนำบินอยด์ CB1 ได้น้อยกว่ำ Δ -THC จึงท�ำให้มีฤทธิ์ในกำรกระตุ้นระบบประสำทน้อย
สำรองค์ประกอบเคมีอื่น ๆ ที่พบในพืชกัญชำ ได้แก่ กลุ่มเทอร์พีนอยด์ (terpenoids), กลุ่มเฟลโวนอยด์ (flavonoids),
กลุ่มลิกนิน (lignins), กลุ่มฟีนอลิก (phenolic compounds) ในเมล็ดกัญชำมีน�้ำมันระเหยยำก เรียก
“น�้ำมันเมล็ดกัญชำ (hemp seed oil)” ซึ่งมีองค์ประกอบ เป็นกรดไขมันหลำยชนิด เช่น กรดลิโนลีอิก (linoleic acid),
กรดแกมมำ-ลิโนลีอิก (γ-linolenic acid), กรดโอลีอิก (oleic acid), กรดแพลมิติก (palmitic acid)
* จักรกฤษณ์ สิงห์บุตร และชยันต์ พิเชียรสุนทร. ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับกัญชำ. ในกำรอบรมวิทยำกรครู ก หลักสูตรกำรใช้กัญชำ
ทำงกำรแพทย์แผนไทย, โรงแรม ที เค พำเลซ, ๒๕๖๒.
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแ
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทยพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย -ต-