Page 22 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 22
ตารางที่ 3 ควำมแตกต่ำงของกลุ่ม sativa-type และ indica-type (Chandra S และคณะ, ๒๕๖๐)
กลุ่ม sativa-type indica-type
เขตการกระจายพันธุ์เริ่มแรก ทั่วไป (เอเชียใต้) จ�ำเพำะ (อัฟกำนิสถำน, ปำกีสถำน,
แถบตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย)
การปรับตัวตามฤดูกาล ค่อนข้ำงนำน (late-maturing) ค่อนข้ำงเร็ว (early-maturing)
บ่อยครั้งในภูมิภำคกึ่งเขตร้อน กำรปรับตัวในภูมิภำคที่หนำวและ
แห้งแล้ง
ความสูง ค่อนข้ำงสูง (๒-๔ เมตร) ค่อนข้ำงเตี้ย (๑-๒ เมตร)
ลักษณะวิสัย กิ่งก้ำนแผ่กระจำย (ปล้องยำว) เป็นพุ่ม (ปล้องสั้น) คล้ำยรูปกรวย
ไม่หนำแน่น ตำห่ำง แน่น ตำถี่
ความกว้างของใบย่อย ใบแคบ ใบกว้ำง
ความเข้มของสีใบ สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม
ความยาวของฤดูกาล late-maturing early-maturing
กลิ่น กลิ่นหอม (sweet) กลิ่นไม่หอม (sour & acrid)
ปริมาณ CBD พบ CBD น้อยหรือไม่พบ พบ CBD มำก
ผลต่อจิตประสาท ท�ำให้เคลิ้มสุข ท�ำให้สงบ
ผ่อนคลำยร่ำงกำย ท�ำให้เกียจคร้ำน
ต่อมำนักพฤกษศำสตร์พยำยำมจ�ำแนกพืชกัญชำตำมลักษณะทำงพันธุกรรม กำรใช้ประโยชน์และปริมำณ
สำรกลุ่มแคนนำบินอยด์ ทั้ง THC และ CBD ซึ่งในทศวรรษที่ผ่ำนมำนั้น อำจมีกำรแบ่งประเภทของกัญชำได้เป็น
๖ กลุ่ม คือ
๑. กัญชำที่ให้เส้นใย (hemp) ที่ปลูกในเอเชียตะวันตกและยุโรป พบ THC ปริมำณน้อย แต่พบสำร
CBD ปริมำณสูง
๒. กัญชำที่ให้เส้นใยที่ปลูกในเอเชียตะวันออก โดยเฉพำะจีน มี THC ปริมำณน้อย ถึงปำนกลำง แต่มี
CBD ปริมำณสูง
๓. กัญชำ ที่ปลูกทั่วไปแถบเอเชียใต้และเอเชียกลำง มี THC ปริมำณสูงมำก (ชื่อกำรค้ำของกัญชำชนิดนี้
คือ ‘sativa-type’)
๔. กัญชำ (marijuana) ที่ปลูกแถบเอเชียใต้ โดยเฉพำะในอัฟกำนิสถำนและประเทศใกล้เคียง มี THC
และ CBD ในปริมำณสูงพอกัน (ชื่อกำรค้ำของกัญชำชนิดนี้คือ ‘indica-type’)
๕. กัญชำที่ให้เส้นใย ซึ่งเกิดจำกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ของกลุ่ม ๑ และ ๒
๖. กัญชำชนิดใช้เป็นสำรออกฤทธิ์ต่อจิตประสำท ซึ่งเกิดจำกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์ของกลุ่มที่ ๓ และ ๔
*
จักรกฤษณ์ สิงห์บุตร และชยันต์ พิเชียรสุนทร. ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับกัญชำ. ในกำรอบรมวิทยำกรครู ก หลักสูตรกำรใช้
กัญชำทำงกำรแพทย์แผนไทย, โรงแรม ที เค พำเลซ, ๒๕๖๒.
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทยพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย -ณ-
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแ