Page 28 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 28
442 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ผลกำรศึกษำ การศึกษาจ�านวน 2 คน คนแรกกังวลเรื่องผลข้างเคียง
ผู้เข้าร่วมวิจัย 40 คน แบ่งได้กลุ่มละ 20 คน ของ omeprazole และคนที่สองได้รับการรักษาด้วย
ลักษณะของผู้เข้าร่วมวิจัยในแต่ละกลุ่มไม่แตกต่าง สารสกัดว่านหางจระเข้ไม่ได้มาตรวจติดตามอาการที่
กัน ยกเว้น การออกก�าลังกายแตกต่างกันอย่างมีนัย ระยะเวลา 4 สัปดาห์
ส�าคัญทางสถิติ (ตารางที่ 1) ผู้เข้าร่วมวิจัยออกจาก
ตารางที่ 1 ลักษณะของผู้เข้าร่วมวิจัย
ลักษณะที่ศึกษา ว่านหางจระเข้ Omeprazole p-value
(n = 20) (n = 20)
จ�านวน ร้อยละ จ�านวน ร้อยละ
1. เพศ 1.000
ชาย 5 25.0 6 30.0
หญิง 15 75.0 14 70.0
2. อายุ (ปี), mean ± SD 55.0 ± 7.3 52.0 ± 8.5 0.249
2
3. BMI (kg/m ), mean ± SD 25.31 ± 1.0 25.18 ± 1.2 0.934
4. สูบบุหรี่ 0.487
สูบบุหรี่ 0 0.0 2 10.0
ไม่สูบบุหรี่ 20 100.0 18 90.0
5. ดื่มแอลกอฮอล์ 0.231
ดื่มแอลกอฮอล์ 0 0.0 3 15.0
ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ 20 100.0 17 85.0
6. โรคร่วม 1.000
ไม่มี 13 65.0 13 65.0
มี 7 35.0 7 35.0
- เบาหวาน 4 20.0 3 15.0 1.000
- ความดันโลหิตสูง 7 35.0 6 30.0 1.000
- ไตวายเรื้อรัง 1 5.0 0 0.0 1.000
7. ยาที่รับประทานเป็นประจ�า
Aspirin 2 10.0 0 0.0 0.487
NSAIDs อื่น ๆ 1 5.0 1 5.0 1.000
8. เวลาหลังกินอาหารแล้วนอน 0.741
< 3 ชม. 6 30.0 8 40.0
≥ 3 ชม. 14 70.0 12 60.0
9. ออกก�าลังกาย 0.026
ไม่ออกก�าลังกาย 14 70.0 6 30.0
ออกก�าลังกาย 6 30.0 14 70.0
10. ยาที่ใช้บรรเทาอาการใน 1 เดือน 1.000
ไม่มี 10 50.0 11 55.0
มี 10 50.0 9 45.0
- omeprazole 6 30.0 4 20.0 0.716
- ยาธาตุน�้าขาว หรือ Alum milk 6 30.0 5 25.0 1.000
- ยาธาตุน�้าแดง 3 15.0 1 5.0 0.605
- ขมิ้นชัน 5 25.0 5 25.0 1.000
- โซดามิ้นท์ 1 5.0 1 5.0 1.000