Page 26 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 26

440 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                       ระเบียบวิธีศึกษำ                ธันวาคม พ.ศ. 2564
                การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองแบบ      กลุ่มตัวอย่างภายใต้สมมติฐานว่าค่าสัดส่วน

           open-label randomized controlled trial โดยสุ่ม  ของอาการแสบร้อนกลางอกในกลุ่มสารสกัดว่านหาง
           ผู้ป่วยด้วยวิธี block randomization แบ่งเป็นกลุ่ม  จระเข้ (ร้อยละ 29.4) แตกต่างจากกลุ่ม omepra-
           ทดลองได้รับการรักษาด้วยสารสกัดว่านหางจระเข้  zole (ร้อยละ 62.5) โดยวัดอาการที่ 0, 2 และ 4

           กับกลุ่มควบคุมได้รับการรักษาด้วย omeprazole   สัปดาห์ (repeated measures) ใช้สถิติ ANOVA
           โดยผู้ป่วยแต่ละรายจะมีหมายเลขเรียงตามล�าดับการ  ก�าหนดการทดสอบเป็นการทดสอบสองทาง ก�าหนด

           เข้าร่วมโครงการ ซึ่งแต่ละหมายเลขได้ก�าหนดกลุ่ม  ระดับนัยส�าคัญหรือความคลาดเคลื่อนชนิดที่หนึ่งที่
           การทดลองไว้แล้วโดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบว่าจะได้อยู่ใน  0.05 และก�าหนด power ที่ 0.80 ก�าหนดให้สองกลุ่ม
           กลุ่มใด หลังจากนั้นท�าการวัดผลก่อนการรักษา นัด  มีจ�านวนตัวอย่างเท่ากัน ค�านวณจ�านวนผู้ป่วยได้กลุ่ม

           มาติดตามอาการที่ 2 สัปดาห์และ 4 สัปดาห์หลังการ  ละ 18 ราย และเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการสูญหาย
           รักษา กลุ่มทดลองได้สารสกัดว่านหางจระเข้ชนิด  ระหว่างการเก็บข้อมูล จึงเพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่าง 10%

           แคปซูลขนาด 70 มิลลิกรัม รับประทาน 1 แคปซูล  จะได้กลุ่มละ 20 ราย รวม 40 ราย ตามคุณสมบัติ
           หลังอาหารเช้าทุกวัน เป็นเวลาติดต่อกัน 4 สัปดาห์  เงื่อนไขที่ก�าหนดและผ่านตามเกณฑ์ ดังนี้
           และกลุ่มควบคุมจะได้ยา omeprazole 20 มิลลิกรัม        1.3.1 เกณฑ์การคัดเข้า

           รับประทาน 1 แคปซูลก่อนอาหารเช้าทุกวัน เป็นเวลา       1) บุคคลที่มีอายุ 18-65 ปี ที่มีอาการแสบ
           ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ การศึกษานี้ได้ผ่านการพิจารณา  ร้อนกลางอก แล้วได้รับการวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อน
           จากคณะกรรมการตรวจสอบจริยธรรมการวิจัยในคน    โดยแพทย์ หรือเคยได้รับการวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อน

           ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ลงวันที่ 12 กันยายน   แล้วมีอาการกลับเป็นซ�้า
           พ.ศ. 2564 เลขที่โครงการ 047/63EX                  2) ไม่ได้กินยารักษาอาการกรดไหลย้อนใน
                                                       ช่วง 3 วันที่ผ่านมา
           1. วัสดุ                                          3) ไม่ได้ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร

                1.1  สารสกัดว่านหางจระเข้ขนาด 70 มิลลิกรัม        4) ไม่เป็นโรคตับ

           ชนิดแคปซูลนิ่ม ลักษณะรูปร่างกลมรี สีเขียวใส บรรจุ       5) ไม่เป็นโรคไตระยะสุดท้าย
           อยู่ในแผงยาที่มาจากบริษัท Thai health product        6) ไม่มีความผิดปกติทางระบบทางเดิน
           (THP) เลขสารบบ 10-3-31754-5-0004            อาหารอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น โรคล�าไส้อุดตัน โรคล�าไส้

                1.2  ยา omeprazole ขนาด 20 มิลลิกรัมของ  แปรปรวน เป็นต้น
           องค์การเภสัชกรรม                                  7) ไม่มีอาการดังต่อไปนี้ ได้แก่ เลือดออก

                1.3  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง           ทางเดินอาหาร ซีด น�้าหนักลดโดยไม่ได้ตั้งใจ อาเจียน
                ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนที่เข้า  มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน หรือกลืนเจ็บ
           มารับการรักษาที่โรงพยาบาลบางแพ จังหวัดราชบุรี        8) ยินยอมและให้ความร่วมมือในการวิจัย

           ตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 23        1.3.2 เกณฑ์การคัดออก
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31