Page 25 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 25

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  439




            เป็นครั้งคราวของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างและ/  เวลานาน [10]
            หรือความดันของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างลดลง [3]      ปัจจุบันได้มีงานวิจัยเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร

            จากกลไกควบคุมหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างท�างาน   และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่าง ๆ มาช่วยบรรเทา
            บกพร่อง โดยอาจมีภาวะอื่น ๆ ร่วมด้วย ได้แก่ มีภาวะ  อาการของโรคกรดไหลย้อน ว่านหางจระเข้เป็นพืช
                         [3]
            ไส้เลื่อนกะบังลม  การมี gastric emptying time   สมุนไพรธรรมชาติที่ได้รับความสนใจน�ามาใช้ใน
                         [4]
                [3]
            ที่ช้า ภาวะอ้วน  การสูบบุหรี่  และความเครียด [5]   อุตสาหกรรมอาหารและยา รวมถึงถูกน�ามาใช้บรรเทา
                                    [2]
            เป็นต้น                                     อาการกรดไหลย้อนด้วย ว่านหางจระเข้ประกอบ
                 การวินิจฉัยเบื้องต้นตามแนวทางเวชปฏิบัติการ  ด้วยสารมากกว่า 75 ชนิด ได้แก่ วิตามินเอ วิตามิน
            ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนในประเทศไทย    ซี วิตามินอี วิตามินบี 12 สังกะสี ทองแดง ซีลีเนียม
            พ.ศ. 2563 ผู้ป่วยที่มีอาการจ�าเพาะของโรคกรดไหล  แคลเซียม aloin และ emodin เป็นต้น จึงมีคุณสมบัติ
            ย้อน ได้แก่ อาการแสบร้อนกลางอกหรือเรอเปรี้ยว  ทางเภสัชวิทยาในการต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ

            เป็นอาการเด่น ตรวจร่างกายปกติและไม่มีสัญญาณ  บรรเทาอาการปวด ต้านการเกิดแผล สมานแผลและ
                                                                  [11]
            เตือน สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นได้ หรือท�าการ  ต้านจุลินทรีย์  ว่านหางจระเข้สามารถบรรเทาอาการ
            ตรวจพิเศษเพิ่มเติมเพื่อยืนยันการวินิจฉัย ได้แก่   ของโรคกรดไหลย้อนได้ โดยพบว่าสารสกัดว่านหาง
            การท�า Ambulatory 24-Hour Double-Probe pH   จระเข้รูปแบบน�้าขนาด 50 มิลลิกรัมต่อวัน สามารถ
            Monitoring ส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนบน    บรรเทาอาการโรคกรดไหลย้อนได้แต่ยังไม่ดีเท่าที่
                                                   [2]
            Esophageal manometry และ Barium esophago-   ควร จึงต้องการศึกษาเพิ่มเติมว่าสารสกัดว่านหาง
                 [6]
            gram  เป็นต้น                               จระเข้ในปริมาณที่มากกว่า 50 มิลลิกรัมต่อวัน และ
                 การรักษาโรคกรดไหลย้อนประกอบด้วย การ    เป็นชนิดแคปซูลเพิ่มความสะดวกต่อการรับประทาน
            ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้ยาหรือการผ่าตัด โดย  จะลดความถี่การเกิดอาการของโรคกรดไหลย้อนได้
            ยาที่ใช้รักษา ได้แก่ ยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะ  ดีขึ้นหรือไม่อย่างไร [12]

            อาหารที่ออกฤทธิ์ที่กลไกต่าง ๆ ยาลดความเป็นกรด     ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ
            ในกระเพาะอาหาร ยาลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะ  ศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดว่านหางจระเข้รูป
            อาหาร เป็นต้น โดยผู้ป่วยจะตอบสนองต่อยาต่าง ๆ ได้  แบบแคปซูลปริมาณ 70 มิลลิกรัมต่อวัน ในการลด

            ดีแตกต่างกันขึ้นกับสาเหตุที่ท�าให้ผู้ป่วยเป็นโรคกรด  ความถี่การเกิดอาการและความรุนแรงของโรคกรด
            ไหลย้อน ทั้งนี้ยากลุ่ม proton pump inhibitor ได้  ไหลย้อนเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ เปรียบเทียบกับ
                                        [7]
            รับการยอมรับและใช้อย่างกว้างขวาง  แต่ก็มีรายงาน  การรักษาด้วย omeprazole เพื่อน�าผลการวิจัยไปใช้
            ความสัมพันธ์ของการเกิดโรคอื่น ๆ ตามมา ได้แก่ เพิ่ม  เป็นทางเลือกในการรักษาโรคกรดไหลย้อนได้อย่าง
                                          [8]
            ความเสี่ยงโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด  ภาวะสมอง  เหมาะสม โดยคาดหวังว่าปริมาณสารสกัดว่านหาง
                                    [10]
                [9]
            เสื่อม  ท�าให้ไตท�างานได้แย่ลง  เป็นต้น ท�าให้เกิด  จระเข้ในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นจะสามารถบรรเทา
            ความไม่มั่นใจของผู้ป่วยเรื่องความปลอดภัยหรือผล  อาการโรคกรดไหลย้อนได้ดีขึ้นด้วย
            ข้างเคียงของยา หากต้องใช้ยารักษาต่อเนื่องเป็นระยะ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30