Page 29 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 29

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  443




                 ความถี่เฉลี่ยของการเกิดอาการต่าง ๆ ตอน  กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p-value 0.042) ใน
            ก่อนเริ่มการทดลอง, 2 สัปดาห์และ 4 สัปดาห์หลังการ  ขณะที่สารสกัดว่านหางจระเข้และ omeprazole มี

            ทดลอง (ตารางที่ 2) พบว่าในกลุ่มที่ได้รับการรักษา  ประสิทธิผลในการลดความถี่เฉลี่ยของอาการแสบ
            ด้วยสารสกัดว่านหางจระเข้ลดลง 0.12 ครั้งต่อสัปดาห์   ร้อนกลางอก เรอเปรี้ยว ท้องอืด คลื่นไส้หรืออาเจียน
            เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วย omepra-  แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ

            zole ลดลง 0.04 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งมีความแตกต่าง  (ตารางที่ 3)


            ตารางที่ 2 ความถี่เฉลี่ยของการเกิดอาการต่าง ๆ ตอนก่อนเริ่มการทดลอง, 2 สัปดาห์และ 4 สัปดาห์หลังการทดลอง

                 อาการ                          ค่าเฉลี่ยความถี่ของการเกิดอาการ ± SD.
                                         ว่านหางจระเข้                     Omeprazole
                               สัปดาห์ที่ 0  สัปดาห์ที่ 2  สัปดาห์ที่ 4   สัปดาห์ที่ 0  สัปดาห์ที่ 2  สัปดาห์ที่ 4

            แสบร้อนกลางอก     3.90 ± 2.70  3.46 ± 1.87  2.82 ± 1.71  2.93 ± 2.66  2.73 ± 1.90  2.42 ± 1.97
            เรอเปรี้ยว        2.20 ± 2.50  2.01 ± 1.95  1.38 ± 1.60  2.52 ± 2.83  2.21 ± 2.78  1.64 ± 2.08
            กลืนล�าบาก        1.37 ± 2.14  0.88 ± 1.67  0.96 ± 1.51  0.71 ± 1.88  0.42 ± 1.41  0.45 ± 1.17
            ท้องอืด           2.31 ± 2.65  2.35 ± 2.06  1.84 ± 1.80  3.15 ± 2.65  2.62 ± 2.18  2.24 ± 1.85
            คลื่นไส้หรืออาเจียน   0.16 ± 0.47  0.11 ± 0.40  0.05 ± 0.30  0.31 ± 1.39  0.21 ± 0.85  0.18 ± 0.80



            ตารางที่ 3  ความถี่เฉลี่ยที่ลดลงในแต่ละสัปดาห์ของอาการต่าง ๆ ของโรคกรดไหลย้อน

             อาการ                                  ความถี่เฉลี่ยที่ลดลงต่อสัปดาห์     p-value
                                              ว่านหางจระเข้           omeprazole

             แสบร้อนกลางอก                        0.22                  0.15            0.337
             เรอเปรี้ยว                           0.22                  0.23            0.818
             กลืนล�าบาก                           0.12                  0.04            0.042
             ท้องอืด                              0.16                  0.22            0.333
             คลื่นไส้หรืออาเจียน                  0.10                  0.36            0.105


                 ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของอาการต่าง ๆ ตอน  สัปดาห์ คะแนนความรุนแรงที่ลดลงของสารสกัดว่าน
            ก่อนเริ่มการทดลอง, 2 สัปดาห์และ 4 สัปดาห์หลัง  หางจระเข้ และ omeprazole เท่ากับ 2.31 และ 1.40

            การทดลอง (ตารางที่ 4) พบว่าสารสกัดว่านหางจระเข้  คะแนนต่อสัปดาห์ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ
            ลดคะแนนความรุนแรงของอาการแสบร้อนกลางอก      ทางสถิติ (p-value 0.036) หลังจากปรับทางสถิติให้

            ได้มากกว่า omeprazole ที่ระยะเวลา 2 สัปดาห์และ   คะแนนความรุนแรงก่อนการทดลองของทั้งสองกลุ่ม
            4 สัปดาห์ โดยที่คะแนนความรุนแรงลดลงอย่างต่อ  เท่ากัน (ตารางที่ 5)
            เนื่องและเห็นความแตกต่างได้ชัดเจนที่ระยะเวลา 4
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34