Page 31 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 31
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 445
[16]
Aloin นอกจากนี้สารสกัดว่านหางจระเข้มีกรด sali- หรือแก๊สไหลย้อนขึ้นมาจะท�าให้อาการแสบร้อนกลาง
cylic carboxypeptidase และ peptidase ที่ยับยั้ง อกไม่ทุเลาลง [21]
การท�างานของ bradykinin และสารก่อการอักเสบ Panahi และคณะได้ท�าการศึกษาน�าร่องพบ
อื่น ๆ ท�าให้ลดอาการเจ็บ บวมและอาการกลืนล�าบาก ว่า omeprazole มีประสิทธิผลในการลดความถี่ของ
[17]
ดีขึ้น แต่ทั้งนี้อาการกลืนล�าบากมีความถี่ในการเกิด อาการแสบร้อนกลางอก ท้องอืด และเรอได้ดีกว่า
อาการน้อยและพบได้ไม่บ่อยในผู้ป่วยโรคกรดไหล สารสกัดว่านหางจระเข้ โดยใช้สารสกัดว่านหางจระเข้
ย้อน ซึ่งท�าให้ไม่รู้สึกถึงความแตกต่างหลังได้รับการ ปริมาณ 50 มิลลิกรัมเปรียบเทียบประสิทธิผลกับ
รักษาด้วยสารสกัดว่านหางจระเข้หรือ omeprazole omeprazole 20 มิลลิกรัม และได้ให้ข้อเสนอแนะใน
ความรุนแรงของอาการแสบร้อนกลางอกลด การศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดว่านหางจระเข้ใน
ลงซึ่งสอดคล้องกับผลงานของ Ried และคณะ [18] ปริมาณเพิ่มขึ้นเพื่อลดอาการต่าง ๆ ของโรคกรดไหล
[12]
เนื่องจากสารสกัดว่านหางจระเข้ประกอบด้วย Ace- ย้อนที่ดีขึ้น การศึกษานี้จึงได้ใช้สารสกัดว่านหาง
mannan ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนพบว่ามีฤทธิ์ จระเข้ปริมาณ 70 มิลลิกรัมเปรียบเทียบประสิทธิผล
สมานแผล ลดฤทธิ์การท�างานของเอนไซม์ย่อยอาหาร กับ omeprazole คาดว่าสารสกัดว่านหางจระเข้
[15]
และช่วยปกป้องเยื่อบุทางเดินอาหาร นอกจากนี้ ปริมาณเพิ่มขึ้น ท�าให้บรรเทาอาการต่าง ๆ ได้ดีมาก
สารสกัดว่านหางจระเข้มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดใน ขึ้นด้วย ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิผลในการลดอาการต่าง ๆ
กระเพาะอาหาร เพิ่มการสังเคราะห์ mucus เพิ่ม ของโรคกรดไหลย้อนของสารสกัดว่านหางจระเข้และ
การไหลเวียนเลือดในชั้น mucus เพิ่มการหลั่งสาร omeprazole มีความใกล้เคียงกันมากขึ้น จึงไม่เห็น
ไบคาร์บอเนตซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง ช่วยยับยั้ง H2 recep- ความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
tor ใน parietal cell ยับยั้งการสร้าง Prostaglandin ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกรายได้รับแบบบันทึกข้อมูล
PGF2α และ TXB2 ลด leukocyte adhesion และ อาการต่าง ๆ และความรุนแรงของโรคกรดไหลย้อน
neutrophil migration ที่แผลในกระเพาะอาหารและ ส�าหรับจดบันทึกอาการที่บ้าน ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนมาก
[11]
เพิ่ม PGE2 ทั้งนี้การออกฤทธิ์ร่วมกันผ่านหลาย จดอาการ ความรุนแรงและผลข้างเคียงลงในแบบ
กลไก ท�าให้สามารถบรรเทาอาการต่าง ๆ ของโรคกรด บันทึกอย่างสม�่าเสมอ แต่มีบางรายที่จดไม่สม�่าเสมอ
ไหลย้อนได้ดีทดแทนการรักษาด้วย omeprazole ได้ ท�าให้การประเมินผลที่ระยะเวลา 2 และ 4 สัปดาห์เพื่อ
และคาดว่าไม่ส่งผลรบกวนต่อสมดุลของจุลินทรีย์ บันทึกข้อมูลลงในแบบประเมินอาการมีความคลาด
ในทางเดินอาหารซึ่งเป็นสาเหตุที่ท�าให้อาการของโรค เคลื่อนของข้อมูลในเรื่องความถี่ที่เกิดอาการและความ
[19]
กรดไหลย้อนไม่ดีขึ้นในระยะยาว ทั้งนี้กลไกหลัก รุนแรงของอาการแต่ละครั้งได้
ของ omeprazole เป็นการออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่ง ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการรักษาด้วยสารสกัดว่าน
กรดในกระเพาะอาหารซึ่งมีประสิทธิภาพลดอาการใน หางจระเข้มีรายงานผลข้างเคียงจ�านวน 3 คน ได้แก่
ผู้ป่วยกลุ่มที่ไม่พบหลอดอาหารอักเสบ (non erosive ปวดท้อง 2 คนและท้องเสีย 1 คน ในขณะที่ผู้เข้าร่วม
[20]
reflux disease or NERD) ได้ร้อยละ 51.4 และ วิจัยที่ได้รับการรักษาด้วย omeprazole ไม่มีรายงาน
หากผู้ป่วยมีอาการแสบร้อนกลางอกที่เกิดจากด่าง ผลข้างเคียง โดยมีรายงานผลข้างเคียงของสารสกัด