Page 36 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 36
450 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
The Immediate Effects of Electro-Acupuncture on Headache in Migraine
Patients
Poonyaphat Siriteerathitikul , Punyawee Khamthai
*
Department of Traditional Chinese Medicine, School of Public Health, University of Phayao, Mae Ka Subdistrict,
Muang District, Phayao 56000, Thailand
* Corresponding author: poonyaphat.si@up.ac.th
Abstract
This study was a single-blinded, randomized controlled trial aiming to investigate immediate effect of
electro-acupuncture on the pain score of headaches in migraine patients when having a migraine attack. The par-
ticipants were 46 migraine patients, randomly assigned to the experimental and control groups – 23 persons each.
The experimental group was treated with electro-acupuncture for 30 min, while the control group had traditional or
regular acupuncture also for 30 min. In all participants, the pain score of headaches were measured, using a visual
analog pain scale (VAS), immediately before and after treatment. The results showed that both groups had significant
differences in migraine pain score before and after treatment (P < 0.01), and the mean migraine VAS score of the
experimental group was significantly lower than that of the control group (P = 0.006). It was concluded that both
30-minute electro-acupuncture and regular acupuncture could reduce migraine pain; and electro-acupuncture could
relieve the pain better than regular acupuncture. Thus, electro-acupuncture is an alternative treatment for migraine
patients during a migraine attack.
Key words: electro-acupuncture, migraine attack, alternative medicine, traditional Chinese medicine
บทน�ำและวัตถุประสงค์ ถึงรุนแรง ในขณะปวดศีรษะอาจพบอาการกลัวแสง
โรคไมเกรน (migraine) จัดเป็นโรคเรื้อรังทาง และกลัวเสียง เวียนศีรษะ รวมทั้งคลื่นไส้อาเจียนร่วม
ระบบประสาทที่พบบ่อย จากรายงานที่ผ่านมาพบ ด้วย อาการปวดศีรษะไมเกรนมีระยะเวลานาน 4-72
ผู้ป่วยปวดศีรษะไมเกรนประมาณร้อยละ 15.9 ของ ชั่วโมง มักเป็น ๆ หาย ๆ หรือเป็นเรื้อรัง ปัจจุบัน
[3]
ประเทศฝั่งตะวันตก ในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรค ยังมีแนวคิดที่ใช้อธิบายสาเหตุของอาการปวดศีรษะ
[1]
ไมเกรนมากถึงร้อยละ 30 และในกรุงเทพมหานคร ไมเกรน 2 แนวคิด คือ vascular theory เกิดภาวะ
พบผู้ป่วยโรคไมเกรนสูงถึงร้อยละ 29.1 โดยพบใน หลอดเลือดขยายตัวจึงท�าให้เกิดอาการปวดศีรษะ
เพศหญิงร้อยละ 35.3 ในเพศชายร้อยละ 10.4 ใน และ inflammation hypothesis เกิดจากสารก่อการ
อัตราส่วน 3.5:1 และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี อักเสบบางชนิด เช่น calcitonin gene related
[2]
โรคไมเกรนมักมีอาการปวดศีรษะเพียงข้างเดียวหรือ peptide (CGRP) และ substance P (SP) ท�าให้เกิด
สองข้างก็ได้ อาการปวดศีรษะนี้อยู่ในระดับปานกลาง ภาวะ neurogenic inflammation โดยค�าอธิบายถึง