Page 32 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 32

446 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ว่านหางจระเข้พบอาการเวียนหัวบ้านหมุนร้อยละ 3.8   ต่าง ๆ ของโรคกรดไหลย้อนได้ โดยสารสกัดว่าน
                           [12]
           ปวดท้องร้อยละ 3.8  โดยเกิดได้จากผลข้างเคียง  หางจระเข้มีประสิทธิผลดีกว่า omeprazole อย่าง
           ของสารสกัดว่านหางจระเข้โดยตรง เนื่องจากสาร  มีนัยส�าคัญทางสถิติในการลดความถี่เฉลี่ยของการ
           สกัดว่านหางจระเข้ประกอบด้วยสารแอนทราควิโนน   เกิดอาการกลืนล�าบากและลดความรุนแรงของอาการ
           (anthraquinone) ที่มีฤทธิ์เป็นยาระบาย [11,22]  หรือเกิด  แสบร้อนกลางอกที่ระยะเวลา 2 และ 4 สัปดาห์ แต่

           อาการจากสาเหตุอื่น ๆ คาดว่าสารสกัดว่านหางจระเข้  มีรายงานอาการปวดท้องและท้องเสียหลังการใช้
           เป็นยาใหม่ส�าหรับผู้เข้าร่วมวิจัยอาจท�าให้มีความกังวล  สารสกัดว่านหางจระเข้ ดังนั้นจึงอาจใช้สารสกัดว่าน
           ถึงผลข้างเคียงซึ่งส่งผลให้ผู้เข้าร่วมวิจัยให้ความสนใจ  หางจระเข้ชนิดแคปซูลขนาด 70 มิลลิกรัมต่อวันเป็น

           อาการที่ผิดปกติของร่างกายในช่วง 4 สัปดาห์ที่รับ  ทางเลือกหนึ่งในการบรรเทาอาการโรคกรดไหลย้อน
                    [22]
           ประทานยา  เมื่อเปรียบเทียบกับ omeprazole ซึ่ง  ได้ ในผู้ป่วยที่กังวลเรื่องผลข้างเคียงจากการรักษา
           เป็นยาที่ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนมากเคยได้รับการรักษามา  ด้วยยาแผนปัจจุบันหรือต้องการใช้สมุนไพรเป็นทาง

           ก่อน เนื่องจากเป็นการรักษามาตรฐานของโรคกรด  เลือกในการรักษาแต่ต้องเฝ้าระวังผลข้างเคียงที่อาจ
           ไหลย้อน                                     เกิดขึ้นได้และยังจ�าเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมถึงผลของ
                  [3,7]
                การออกก�าลังกายวันละ 30 นาทีขึ้นไป อย่าง  สารสกัดว่านหางจระเข้ในระยะยาว
           น้อย 3 วัน/สัปดาห์ พบความสัมพันธ์กับอุบัติการณ์
           การเกิดโรคกรดไหลย้อนลดลง 0.7 เท่า  แต่จากการ             ข้อเสนอแนะ
                                        [23]
           เก็บข้อมูลพบว่ากลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วย omepra-     1.  การคัดกลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมการศึกษาควร
           zole ออกก�าลังกายมากกว่ากลุ่มที่รับการรักษาด้วย  มีการตรวจร่างกายเพื่อแบ่งระดับความรุนแรงของ

           สารสกัดว่านหางจระเข้ อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   โรคโดยแพทย์ร่วมกับตรวจประเมินผลโดยการส่อง
           (p-value 0.026) คาดว่าเกิดจากการเข้าใจค�าถามเรื่อง  กระเพาะอาหาร (ถ้าเป็นไปได้) ร่วมด้วย ซึ่งจะท�าให้
           การออกก�าลังกายไม่ชัดเจน ผู้ป่วยบางรายท�างานใช้  สองกลุ่มมีการกระจายผู้ป่วยตามระดับความรุนแรง

           แรงงานจึงคิดว่าเป็นการออกก�าลังกาย ในขณะที่บาง  ได้เท่าเทียมกันมากขึ้น หรือควรแบ่งกลุ่มผู้ป่วยโดย
           รายซึ่งท�างานคล้าย ๆ กันแต่ไม่นับรวมการท�างาน  ค�านึงถึงระดับความรุนแรงของอาการแสบร้อนกลาง
           เป็นการออกก�าลังกาย โดยการออกก�าลังกายอาจเป็น  อกตอนก่อนเริ่มทดลอง เพื่อให้ทั้ง 2 กลุ่มการทดลอง

           ปัจจัยรบกวนการศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดว่าน  มีจุดเริ่มต้นเท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน ซึ่งคาดว่าจะเห็น
           หางจระเข้เปรียบเทียบกับ omeprazole จึงใช้ตัวแปร  ความแตกต่างหลังได้รับการรักษาที่ชัดเจนขึ้นและ
           การออกก�าลังกายมาค�านวณเพื่อปรับให้ทั้งสองกลุ่ม   ท�าให้ผลการศึกษามีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

           มีความเหมือนกันทางสถิติ                         2.  ถ้าเพิ่มจ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัย คาดว่าจะเห็น
                                                       ความแตกต่างของความถี่และความรุนแรงของอาการ
                           ข้อสรุป                     อื่น ๆ นอกจากอาการแสบร้อนกลางอกได้ชัดเจนขึ้น


                สารสกัดว่านหางจระเข้ชนิดแคปซูลมีประสิทธิผล      3.  ศึกษาประสิทธิผลและผลข้างเคียงของการ
           ในการลดความถี่เฉลี่ยและความรุนแรงของอาการ   ใช้สารสกัดว่านหางจระเข้ในปริมาณที่เพิ่มขึ้นว่าจะ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37