Page 37 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 37

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  451




            สาเหตุที่เกิดขึ้น เกิดจากภาวะ cortical spreading   ไฟฟ้าเพื่อการกระตุ้นจุดฝังเข็ม ซึ่งกระแสไฟฟ้าที่ใช้
            depression (CSD) โดย CSD เป็นสัญญาณการส่ง   นั้นมีก�าลังอ่อน ๆ ขนาดใกล้เคียงกับกระแสไฟฟ้าที่

            กระแสประสาทอย่างช้า ๆ ที่เกิดขึ้นบริเวณ occipital   ไหลอยู่ตามปกติในร่างกายมนุษย์ ในการศึกษาของ
                                                                      [8]
            lobe ของสมอง หลังจากเกิดสัญญาณ CSD สัญญาณ   Sheng และคณะ  ปี ค.ศ. 2019 ได้ศึกษาผลของ
            จะเดินทางไปที่ migraine center แล้วส่งสัญญาณ  การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าต่ออาการปวด

            ผ่าน trigeminal nerve (CNV) ท�าให้เกิดการขยายตัว  ศีรษะไมเกรนในผู้ป่วย จ�านวน 24 ครั้ง ติดต่อกัน
            ของหลอดเลือดภายนอกกะโหลก ส่งผลให้เกิดอาการ  ผลการศึกษาพบว่า ระดับความปวดลดลง จ�านวน
                          [4]
            ปวดศีรษะไมเกรน  โดยมีปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ  ครั้งของอาการปวดลดลง และระยะเวลาของอาการ
            ปวด เช่น ความเครียด การอดนอน และอาการท้อง   ปวดลดลง และการศึกษาของ Wang และคณะ
                                                                                              [9]
            ผูก น�าไปสู่การกระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะมาก  ปี ค.ศ. 2015 ได้ศึกษาผลการฝังเข็มร่วมกับการกระ
               [5]
            ขึ้น  เมื่อมีอาการปวดรุนแรงมักส่งผลกระทบส�าคัญ  ตุ้นไฟฟ้าเปรียบเทียบกับการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้น
            ต่อสุขภาพกาย เป็นเหตุให้ต้องขาดงาน ท�าให้สูญเสีย  เข็ม จ�านวน 10 ครั้งติดต่อกัน ในผู้ป่วยไมเกรน พบ
            ทางเศรษฐกิจ และเสียสุขภาพจิตอีกด้วย         ว่า กลุ่มที่ได้รับการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า มี

                 การรักษาโรคไมเกรน ส่วนใหญ่ให้รับประทาน  ระดับความปวดลดลง จ�านวนครั้งของอาการปวดลด
            ยาแก้ปวดเป็นหลัก ซึ่งภาวะแทรกซ้อนจากการ     ลง และระยะเวลาของอาการปวดลดลง มากกว่ากลุ่ม
            ใช้ยาแตกต่างกันไปตามกลุ่มของยา เช่น ยากลุ่ม   ที่ได้รับการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็ม จากการศึกษา

            NSAIDS อาจท�าให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ยา    ที่ผ่านมา โดยทั่วไปมักเป็นการศึกษาผลในระยะยาว
            กลุ่ม Ergot ท�าให้เกิดการคลื่นไส้อาเจียนและห้าม  ของการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าด้วยจ�านวน

            ใช้ในผู้ป่วยตั้งครรภ์หรือเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ  ที่มากครั้งต่อ 1 รอบการรักษา จึงพบว่าสามารถลด
                    [6]
            ขาดเลือด  นอกจากนี้การใช้ยาติดต่อกันในปริมาณ  อาการปวด ลดจ�านวนครั้งของอาการปวด และลด
            สูงเป็นเวลานานอาจท�าให้เกิดโรคปวดศีรษะเหตุใช้  ระยะเวลาของอาการปวดศีรษะไมเกรน รวมถึงลด

            ยาเกิน (medication overused headache) ได้   การกลับมาเป็นซ�้าได้
            อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีแนวทางการรักษาโดย       แต่อย่างไรก็ตาม จากการสืบค้นการศึกษาที่
            การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าที่นิยมอย่าง  ผ่านมาจากฐานข้อมูลทั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน

            แพร่หลาย ซึ่งการฝังเข็มเป็นหนึ่งในศาสตร์การ  ประเทศไทยและต่างประเทศ ยังไม่พบการศึกษาถึง
            แพทย์ทางเลือกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดทั่วโลก  ผลฉับพลันของการรักษาฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้น
            ระยะ 10 ปีหลังมานี้ มีความปลอดภัยสูง และมีงาน  ไฟฟ้าแต่อย่างใด ดังนั้น ในการศึกษานี้ผู้วิจัยจึงเจาะจง

            วิจัยคุณภาพสูงมากมายที่ได้ท�าการทดลองในกลุ่ม  ศึกษาผลฉับพลันของการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้น
            ตัวอย่างขนาดใหญ่ มีจ�านวนตั้งแต่ 90-237 ราย    ไฟฟ้าต่อระดับความปวดศีรษะในผู้ป่วยโรคไมเกรน
                                                   [7]
            โดยปัจจุบันได้มีการน�าเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า (electro-  ขณะมีอาการปวดศีรษะก�าเริบ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความ
            acupuncture) มาบูรณาการร่วมกับการฝังเข็ม วิธี  มั่นใจถึงประสิทธิผลจึงควรมีการศึกษาในอนาคตเพื่อ
            การดังกล่าวเป็นวิธีการรักษาที่ใช้เข็มร่วมกับกระแส  สนับสนุนผลของการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42