Page 40 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 40
454 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ถึง ไม่ปวด (no pain) 1-3 เซนติเมตร หมายถึง ปวด ข้อมูลทั้งหมดวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป (SPSS
เล็กน้อย (mild pain) 4-6 เซนติเมตร หมายถึง ปวด version 26.0) ก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่
ปานกลาง (moderate pain) และ 7-10 เซนติเมตร p < 0.05
หมายถึงปวดรุนแรง (severe pain) ผู้เข้าร่วมวิจัยจะ
ถูกประเมินระดับความเจ็บปวดทั้งก่อนและหลังการ ผลกำรศึกษำ
รักษาทันที
2.3 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้ำร่วมวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัยใช้ ผู้ป่วยไมเกรนที่เข้ารับการรักษาฝังเข็ม มีจ�านวน
สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistic) โดยใช้การ 58 ราย ถูกคัดออก 12 ราย ได้ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด
แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน 46 ราย ถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
มาตรฐาน ใช้สถิติ paired samples t test ส�าหรับ กลุ่มละ 23 ราย โดยผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่มได้รับ
ตัวแปร VAS ในการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่าง การรักษาและประเมินผลคะแนนระดับความปวด
ก่อนและหลังการรักษา และใช้สถิติ independent (VAS) ก่อนและหลังเสร็จสิ้น (ภาพที่ 2)
samples t test เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่ม
(n = 58)
(n = 12)
randomized (n = 46)
( ) ( )
(n = 23) (n = 23)
ภาพที่ 2 แผนผังการคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัย
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วม ปวดศีรษะไมเกรน พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตก
วิจัย จ�านวน 46 ราย จ�าแนกตามเพศ อายุ น�้าหนัก ส่วน ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p > 0.05) (ตารางที่
สูง ดัชนีมวลกาย ระยะเวลาที่เจ็บปวดและระดับความ 1)