Page 43 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 43
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 457
เป็นระดับปวดปานกลาง (moderate pain) และปวด การรักษาให้กับแพทย์แผนจีนสามารถน�าไปประยุกต์
เล็กน้อย (mild pain) อย่างไรก็ตามการศึกษาข้าง ใช้ในคลินิกและโรงพยาบาลเพื่อลดอาการปวดศีรษะ
ต้นเป็นการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน (long term ในผู้ป่วยไมเกรนขณะมีอาการปวดศีรษะไมเกรน
effect) จึงได้ผลการรักษาที่ชัดเจน หากแต่การศึกษา ก�าเริบได้
นี้เป็นการศึกษาผลในระยะฉับพลันทันที (interme-
diate effect) ดังนั้นคะแนนระดับความปวดของกลุ่ม ข้อเสนอแนะ
ทดลองจึงลดลงไม่ชัดเจนเท่ากับการศึกษาข้างต้น 1. ควรมีการเก็บข้อมูลทั่วไปของลักษณะการ
จากผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การฝังเข็ม ท�างานที่อาจเป็นสาเหตุของอาการปวด ความถี่ของ
ร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าและการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้น อาการปวด ระยะเวลาเมื่อเกิดอาการปวด การแพ้ยา
เข็มสามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรนได้ในทันที และโรคประจ�าตัว
หลังการรักษา 30 นาที แต่การฝังเข็มร่วมกับการกระ 2. ควรมีการติดตามผลหลังผ่านไป 24 ชั่วโมง
ตุ้นไฟฟ้าสามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรนขณะ
มีอาการปวดศีรษะก�าเริบได้ดีกว่าการฝังเข็มโดยไม่ กิตติกรรมประกำศ
กระตุ้นเข็ม ดังนั้น การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมวิจัยที่ให้ความร่วมมือเป็น
จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งส�าหรับผู้ป่วยไมเกรนขณะ อย่างยิ่งในระหว่างการรักษาและการเก็บรวบรวม
มีอาการปวดศีรษะไมเกรนก�าเริบในระดับปานกลาง ข้อมูล
(moderate pain) และไม่ต้องการรับประทานยาแก้
ปวด หรือผู้ที่มีอาการแพ้ยา เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียง References
ทั้งระยะสั้นและระยะยาวจากการรับประทานยาแก้ 1. Burch R, Rizzoli P, Loder E. The prevalence and im-
pact of migraine and severe headache in the United
ปวด อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้มีจ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัย States: Updated age, sex, and socioeconomic-specific
ค่อนข้างน้อย จึงท�าให้เห็นความแตกต่างไม่ชัดเจนทั้ง estimates from government health surveys. Headache.
ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม 2021;61(1):60-8.
2. Phanthumchinda K, Kamolratanakul P. Prevalence of
primary headache in central region of Thailand: a cross
ข้อสรุป sectional survey. Bulletin Neurological Society of Thai-
land. 2000;16 Suppl 1:12-3. (in Thai).
การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าและการฝัง 3. Lordongbung P, Decha R, Suntara W, Nunklang S,
เข็มโดยไม่กระตุ้นเข็มสามารถลดอาการปวดศีรษะ Hanrinth R, Suttiruksa S. Effects of pharmaceutical care
based on the clinical practice guideline of migraine in
ไมเกรนได้ในทันที แต่การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้น a University Pharmacy: a pilot study. Thai Journal of
ไฟฟ้าสามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรนขณะที่ผู้ Pharmacy Practice. 2016;8(2):249-60. (in Thai)
4. Sprenger T, Goadsby PJ. Migraine pathogenesis and
ป่วยมีอาการปวดศีรษะก�าเริบได้ดีกว่าการฝังเข็มโดย state of pharmacological treatment options. BMC Med.
ไม่กระตุ้นเข็ม ดังนั้น การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้น 2009;7(71):1-5
5. Limudomporn M, Kwankhao P, Kitniyom B, Kampher-
ไฟฟ้าจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งส�าหรับผู้ป่วยไมเกรนที่มี
atham P, Kessara N, Chokdeesrijan C, Obhasi S. Ef-
อาการปวดศีรษะไมเกรนก�าเริบ อีกทั้งยังเป็นแนวทาง fectiveness of Thai massage integrated into standard