Page 48 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 48

462 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ผสาน กรุงเทพมหานคร                          ที่เท้าผิดปกติและ/หรือชีพจรเท้าเบาลง สูญเสียความ
                                                       รู้สึกในการป้องกันอันตราย ตรวจโดยใช้ monofila-
           1. วัสดุ                                    ment 10 g. ตั้งแต่ 4 จุดขึ้นไป แต่ไม่เกิน 10 จุด [9]

                1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง                 6)  ความดันโลหิต < 160/100 มิลลิเมตร
                ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้ป่วยเบาหวาน  ปรอท (high blood pressure: hypertension

           ชนิดที่ 2 ที่มีอาการชาเท้า ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาล   stage 2)
           การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน โดย              7)  เป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาเท้า
           ใช้สูตรค�านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จ�านวนกลุ่ม       8)  หากได้รับยาเบาหวานก่อนท�าการศึกษา

           ตัวอย่าง 60 คน และแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม   ต้องได้รับยาโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนยามาอย่างน้อย
           อย่างน้อยกลุ่มละ 30 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายโดย  1 เดือน [10]
           การจับฉลาก ตามคุณสมบัติเงื่อนไขที่ก�าหนดและผ่าน       9)  เป็นผู้ที่สามารถตอบค�าถามได้เอง

           ตามเกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria) ดังนี้       10)  แพทย์ผู้ดูแลยินดีให้เข้าร่วมโครงการ
                  1.1.1 เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion crite-  วิจัยด้วยความสมัครใจ

           ria)                                              11)  เป็นผู้ที่ยินดีเข้าร่วมโครงการวิจัยด้วย
                  1)  ผู้ป่วยเพศชายและ/หรือเพศหญิง มีอายุ  ความสมัครใจ
           ตั้งแต่ 35–60 ปี [2,8]                            1.1.2  เกณฑ์การคัดออก (exclusion cri-

                  2)  ผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งหมายถึงผู้ป่วยที่  teria)
           แพทย์แผนปัจจุบันจากโรงพยาบาลทั่วไป ให้การ         1)  เป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลบริเวณเท้า

           วินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2          มีรอยฟกช�้าและเนื้อเป็นจ�้าหรือช�้าง่าย
                  3)  เป็นผู้ป่วยเบาหวานที่ให้ประวัติเป็นโรค       2)  เป็นผู้ที่ได้รับยาเบาหวานชนิดฉีดอินซูลิน
                           [1]
           เบาหวานมากกว่า 5 ปี  ที่รับการรักษากับโรงพยาบาล       3)  เป็นผู้ที่รับประทานยาละลายลิ่มเลือด
           ทั่วไป                                      Warfarin
                  4)  มีประวัติค่าเฉลี่ยของระดับน�้าตาลใน       4) เป็นผู้ที่มีประวัติแพ้สมุนไพรในต�ารับยา
           เลือดก่อนอาหารเช้า ย้อนหลัง 2 ครั้งสุดท้าย (ไม่เกิน   ลูกประคบ ได้แก่ เหง้าไพล ใบมะขาม ผิวมะกรูด เหง้า

           3 เดือน) ก่อนท�าการศึกษามีค่า ≥ 126-200 มิลลิกรัม/  ขมิ้นชัน ตะไคร้ (ล�าต้น) ใบส้มป่อย เกลือเม็ด การบูร
                 [2]
           เดซิลิตร  จากโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลการ       5) เป็นผู้ที่อยู่ในระยะตั้งครรภ์
           แพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน                     6) เป็นผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดด�าที่ขา

                  5)  ผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด  อักเสบเรื้อรัง หลอดเลือดด�าอุดตัน
           แผลในระดับความเสี่ยงปานกลาง (moderate risk)        7) เป็นผู้ป่วยที่รับประทานยาวิตามิน

           คือ ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีประวัติการมีแผลที่เท้าหรือ  ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
           ถูกตัดขา/เท้า/นิ้วเท้าและไม่มีเท้าผิดรูปแต่ตรวจพบ       8) อาการแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น พบการ
           ผลการประเมินการรับความรู้สึกในการป้องกันตนเอง  หนาตัวของผิวหนังที่เท้า (callus) หรือพบอาการ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53