Page 49 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 49

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  463




            Charcot’s neuroarthropathy                  2. วิธีก�รศึกษ�
                 1.2  เครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิผล      2.1  ระยะก่อนการทดลอง
            ประกอบด้วย                                       ผู้วิจัยจะสาธิตและสอนการแช่เท้าด้วยสมุนไพร

                   1.2.1 การประเมินความรู้สึกของเท้าเพื่อหา  สูตรต�ารับยาลูกประคบและสาธิตการแช่เท้าไม่มี
            จุดรับความรู้สึกที่ผิดปกติ ด้วย monofilament 10   สมุนไพร และสอนวิธีการใช้เครื่องวัดอุณหภูมิ (ther-

            g. โดยใช้ปลายของ monofilament 10 g. กดค้างไว้   mometer) ให้กับทั้ง 2 กลุ่ม จนกว่าทั้ง 2 กลุ่มสามารถ
            2 วินาทีแล้วปล่อยออก บริเวณฝ่าเท้า 4 จุด ของเท้า  ปฏิบัติได้เอง
            แต่ละข้าง ได้แก่ หัวแม่เท้า metatarsal head ที่ 1 ที่      2.2  ระยะทดลอง

            3 และที่ 5 (ภาพที่ 1) ถ้าต�าแหน่งที่จะตรวจมี callus      กลุ่มทดลอง จ�านวน 30 คน ได้รับการแช่เท้า
            แผล หรือแผลเป็น ให้เลี่ยงไปตรวจที่บริเวณใกล้เคียง  ด้วยน�้าสมุนไพรอุ่นที่ไม่ได้กรองสมุนไพรออก ด้วยวิธี

                                                        การน�าน�้าอุ่นที่อุณหภูมิ 38-40 องศาเซลเซียส ปริมาณ

                                                        3,000 มิลลิลิตร ผสมกับสมุนไพรสดต�ารับสูตรลูก
                                                        ประคบ (ตารางที่ 1) ซึ่งสมุนไพรและน�้าต้มสมุนไพรใช้
                                                        แบบครั้งเดียวโดยเปลี่ยนใหม่ทุกครั้ง และกลุ่มเปรียบ

                                                        เทียบได้รับการแช่เท้าในน�้าอุ่นที่ไม่มีสมุนไพร จ�านวน
                                                        30 คน ทั้ง 2 กลุ่ม ปฏิบัติเองที่บ้าน โดยการแช่เท้าใน

                                                        ขณะที่น�้ามีอุณหภูมิ 38-40 องศาเซลเซียส (ทั้ง 2 กลุ่ม
                        Right Foot   Left Foot
                                                        ได้รับเครื่องวัดอุณหภูมิ thermometer ส�าหรับวัด
            ภาพที่ 1  จุดทดสอบความรู้สึกของเท้า         อุณหภูมิน�้าก่อนการแช่เท้า) ครั้งละ 10 นาที  สัปดาห์
                                                                                        [7]
                    การให้คะแนน : หากตอบว่ารู้สึก ให้คะแนน
                    การทดสอบ = 0                        ละ 3 ครั้ง (วันจันทร์ พุธ และศุกร์) ติดต่อกัน 4 สัปดาห์
                    หากตอบว่าไม่รู้สึก ให้คะแนนการทดสอบ = 1  รวมทั้งหมด 12 ครั้ง ในช่วงระหว่างการทดลอง มีการ
                    (ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถรู้สึกจุดสัมผัสมากกว่า  โทรติดตามผู้เข้าร่วมวิจัยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
                    หนึ่งจุดก็แสดงว่าผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด     2.3  การวิเคราะห์ข้อมูล
                    แผลที่เท้าในอนาคต)                         1. ใช้สถิติพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป
                                                        ของประชากร ด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

                                                        และส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน
                                                               2. ใช้สถิติอนุมานวิเคราะห์ความแตกต่าง
                   1.2.2 การวัดอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้าโดย  ของค่าเฉลี่ยความรู้สึกของเท้าและอุณหภูมิผิวหนัง
            ใช้กล้องอินฟราเรด (infrared thermography) ถ่าย  บริเวณเท้าภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ

            ภาพบริเวณหลังเท้าและฝ่าเท้า จากนั้นแปลผลจากสีที่  โดยใช้ paired sample t-test
            บริเวณผิวหนังที่ต่างกันเพื่อแปลงเป็นค่าอุณหภูมิว่ามี       3. ใช้สถิติอนุมานวิเคราะห์ความแตกต่าง
            การเพิ่มขึ้นหรือลดลง
                                                        ของค่าเฉลี่ยความรู้สึกของเท้าและอุณหภูมิผิวหนัง
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54