Page 47 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 47
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 461
บทนำ�และวัตถุประสงค์ 2 เป็นการควบคุมและชะลอการด�าเนินของโรค ลด
โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งยังคง การเกิดแผลที่เท้า การสูญเสียอวัยวะ และลดภาระค่า
เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก ในปัจจุบันความชุก ใช้จ่ายทางการแพทย์ที่จะเกิดขึ้นจากผลของการเกิด
[5]
ของโรคเบาหวานทั่วโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จาก ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยที่
สถิติของสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ พบว่าในปี พ.ศ. การศึกษาก่อนหน้านี้เป็นการศึกษาถึงการแช่เท้าใน
2560 มีจ�านวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก 425 ล้านคน น�้าสมุนไพรร่วมกับการนวดเท้าโดยเปรียบเทียบกับ
และคาดว่าในปี พ.ศ. 2588 จ�านวนผู้ป่วยเบาหวานทั่ว การเหยียบถุงประคบสมุนไพรร่วมกับการนวดเท้า พบ
[1]
โลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 629 ล้านคน เบาหวานเป็นโรคที่ ว่า การแช่เท้าในน�้าสมุนไพรร่วมกับการนวดเท้าระดับ
เกิดจากความผิดปกติของการควบคุมระดับน�้าตาล อาการชาลดลงมากกว่าการเหยียบถุงประคบสมุนไพร
[6]
ในเลือดท�าให้ระดับน�้าตาลในเลือดสูงเกินกว่าที่ควร ร่วมกับการนวดเท้าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
จะเป็น มีสาเหตุมาจากภาวะขาดอินซูลินหรือภาวะ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง
ดื้ออินซูลิน การที่มีระดับน�้าตาลในเลือดสูงเป็นเวลา ประสิทธิผลและความปลอดภัยของการแช่เท้าด้วย
นาน ๆ ส่งผลให้อวัยวะและเนื้อเยื่อทั้งหมดของ สมุนไพรในสูตรต�ารับยาลูกประคบในผู้ป่วยเบาหวาน
ร่างกายมีความผิดปกติในการท�างาน และท้ายที่สุด ชนิดที่ 2 ที่มีอาการชาเท้า
ท�าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นในอวัยวะต่าง ๆ โดย
เฉพาะภาวะแทรกซ้อนที่เท้า เช่น ประสาทส่วนปลาย ระเบียบวิธีศึกษ�
เสื่อม การขาดเลือด การติดเชื้อ การรับความรู้สึกลด การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลอง (ex-
[2]
ลง และที่ส�าคัญท�าให้เกิดแผลที่เท้า ซึ่งถือว่าเป็น perimental study) แบบ single blinded, random-
ภาวะแทรกซ้อนที่เป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้ต้องเข้า ized controlled trial โดยพยาบาลวิชาชีพจะไม่ทราบ
รักษาในโรงพยาบาล พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานหนึ่งคนมี ว่าผู้เข้าร่วมวิจัยคนใดได้รับการแช่เท้า (ทั้ง 2 ข้าง) แบบ
[3]
โอกาสเกิดแผลที่เท้าได้ร้อยละ 15–40 จากสถิติของ ที่มีสมุนไพรหรือไม่มีสมุนไพร แบ่งเป็น 2 กลุ่ม วัดผล
สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ พบว่า ผู้ป่วยเบาหวาน ก่อนและหลังการทดลองภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม
มีความเสี่ยงต่อการถูกตัดขามากกว่าผู้ป่วยที่ไม่เป็น คือ กลุ่มทดลองได้รับการแช่เท้าด้วยน�้าสมุนไพรอุ่น
เบาหวานถึง 25 เท่า ซึ่งภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน สูตรต�ารับลูกประคบ และกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการ
นอกจากจะส่งผลกระทบต่อร่างกาย การด�าเนินชีวิต แช่เท้าด้วยน�้าอุ่น โดยทั้งสองกลุ่มแช่เท้าในขณะที่น�้า
[7]
และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแล้ว ยังส่งผลต่อการเพิ่ม มีอุณหภูมิ 38-40 องศาเซลเซียส ครั้งละ 10 นาที
[4]
ภาระค่าใช่จ่ายในการรักษาโรคอีกด้วย ปัจจุบันนอก สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (วันจันทร์ พุธ และศุกร์) ติดต่อกัน
เหนือจากการดูแลรักษาอาการผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 4 สัปดาห์ รวมทั้งหมด 12 ครั้ง การศึกษานี้ได้ผ่านการ
2 ด้วยยาแผนปัจจุบันแล้ว ยังมีการศึกษาหลายชิ้นที่ อนุมัติให้ด�าเนินการวิจัยจากคณะกรรมการพิจารณา
แสดงให้เห็นว่าการใช้ยาสมุนไพรหรือการแพทย์ผสม ศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์แผนไทยและการ
ผสานนั้นมีผลดีในการควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด แพทย์ทางเลือก ที่ สธ 0503.09/227 โดยท�าการศึกษา
และรักษาอาการต่าง ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ ในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม