Page 42 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 42

456 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                         อภิปรำยผล                     ลดลงกว่ากลุ่มที่ได้รับการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็ม
                จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วม  นอกจากนี้ ผลการรักษาด้วยการฝังเข็มร่วมกับการ

           วิจัยทั้งสองกลุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ จึง  กระตุ้นไฟฟ้ายังส่งเสริมทฤษฎีสารฝิ่น (opiate control
                                                             [15]
           ไม่พบปัจจัยกวนต่อการศึกษานี้ และจากผลการ    theory)  ซึ่งมีหลักฐานสนับสนุนโดยการศึกษาของ
                                                                    [16]
           ศึกษานี้พบว่า หลังจากการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้น   Cheng และคณะ  ปี ค.ศ. 1980 ท�าการศึกษาผลการ
           ไฟฟ้าและการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็มมีผลคะแนน  ฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าในกล้ามเนื้อต่อการ
           ระดับความปวดศีรษะไมเกรนลดลง เมื่อเทียบกับ   หลั่งสารประเภทมอร์ฟีน (morphine) ในร่างกาย พบ

           ก่อนการรักษา โดยกลุ่มทดลองก่อนได้รับการฝัง  ว่า การฝังเข็มและกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าความถี่ต�่า
           เข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้ามีระดับความปวดศีรษะ  4 Hz สามารถกระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารเอ็นดอร์ฟิน
           ไมเกรน 6.35 เซนติเมตร หลังจากการรักษาเป็นเวลา   (endorphin) ในไขสันหลัง, mid brain, hypothala-

           30 นาที มีระดับความปวดศีรษะไมเกรนลดลงเหลือ   mus และต่อม pituitary และใช้กระแสไฟฟ้าความถี่
           4.22 เซนติเมตร โดยระดับความปวดศีรษะไมเกรน   100-200 Hz สามารถกระตุ้นให้เกิดการหลั่งสาร

           ลดลงเฉลี่ย 2.13 เซนติเมตร ในขณะเดียวกัน กลุ่ม  ซีโรโทนิน (serotonin) ซึ่งท�าให้ร่างกายคลายความเจ็บ
           ควบคุมก่อนได้รับการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็มมี  ปวดลงได้ในทันที และจากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า
           ระดับความปวดศีรษะไมเกรน 6.22 เซนติเมตร หลัง  ผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า

                                                                                [17]
           จากการรักษามีระดับความปวดศีรษะไมเกรนลดลง    จะมีอัตราหายปวดสูงถึง 50-80%
           เหลือ 5.17 เซนติเมตร โดยระดับความปวดศีรษะ       นอกจากนี้ จุดฝังเข็มที่เลือกใช้ในการศึกษา
           ไมเกรนเฉลี่ย 1.05 เซนติเมตร แสดงให้เห็นว่าการ  นี้ เป็นไปตามจุดมาตรฐานที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษา

           รักษาทั้งสองวิธีสามารถลดอาการปวดศีรษะไมเกรน  อาการปวดศีรษะจากโรคไมเกรนทางแพทย์แผนจีน
                                                                                             [18]
           ได้ในทันที แต่ยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงระดับความ  ส่งเสริมทฤษฎีปลุกสมองเปิดทวารและทะลวงเส้น
           ปวดได้อย่างชัดเจน เนื่องจากระดับความปวดยังคง  ลมปราณ (醒脑开窍, 疏通经络) ในการรักษาโรค

           อยู่ที่ระดับปานกลาง 4-6 (moderate pain) เช่นเดิม  ปวดศีรษะไมเกรน ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน
                                                                                             [19]
           เมื่อเปรียบเทียบผลคะแนนเฉลี่ยของระดับความ   ส่งผลให้ผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มทดลองมีระดับความ

           ปวดศีรษะไมเกรนระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมี  ปวดลดลง สอดคล้องกับการศึกษาของ Allais และ
           คะแนนระดับความปวดลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี  คณะ  ปี ค.ศ. 2002 ได้เลือกใช้จุด ได้แก่ Baihui
                                                           [20]
           นัยส�าคัญทางสถิติ (p = 0.006) สอดคล้องกับผลการ  (GV20), Taiyang (EX-HN5), Yangbai (GB14),

           ศึกษาของ Wang และคณะ  ปี ค.ศ. 2015 ศึกษาผล  Fengchi (GB20), Sanyinjiao (SP6), Zusanli
                                [9]
           การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าเปรียบเทียบกับ  (ST36), Zhongwan (CV12), Hegu (LI14), Nei-

           การฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็ม จ�านวน 10 ครั้งติดต่อกัน   guan (PC6) และ Taichong (LR3) รักษาโรคปวด
           ในผู้ป่วยไมเกรน พบว่า กลุ่มที่ได้รับการฝังเข็มร่วมกับ  ศีรษะไมเกรน เป็นระยะเวลา 4 เดือน พบว่า ระดับ
           การกระตุ้นไฟฟ้ามีระดับความปวดลดลง จ�านวนครั้ง  ความปวด และความถี่ของการปวดศีรษะไมเกรนลด

           ของอาการปวดลดลง และระยะเวลาของอาการปวด      ลงอย่างชัดเจน จากระดับปวดรุนแรง (severe pain)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47