Page 38 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 38

452 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ในการน�ามาใช้ทางคลินิก ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษาจะ  70, d = 60, a = 0.05, b = 0.2 จากผลการค�านวณ
           เป็นการสร้างต้นแบบการบริบาลในผู้ป่วยปวดศีรษะ  ได้จ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มละ 17 ราย และก�าหนด

           ไมเกรน เพื่อลดการใช้ยาแก้ปวดในปริมาณมาก และ  % drop out เท่ากับ 30% ได้ผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่ม
           เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ต่อไป     ทดลอง จ�านวน 23 ราย และกลุ่มควบคุม จ�านวน 23
                                                       ราย รวมผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดที่จะเข้าร่วมการศึกษา
                       ระเบียบวิธีศึกษำ                ครั้งนี้มีจ�านวน 46 ราย โดยกลุ่มทดลองจะได้รับการ

                การศึกษาผลฉับพลันของการฝังเข็มร่วมกับ  ฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า และกลุ่มควบคุมจะ
           การกระตุ้นไฟฟ้าต่ออาการปวดศีรษะไมเกรนใน     ได้รับการฝังเข็มโดยไม่กระตุ้นเข็ม มีเกณฑ์คัดเข้า

           ผู้ป่วยไมเกรนครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่ม   (inclusion criteria) คือ มีอาการปวดศีรษะไมเกรน
           (randomized controlled trial) แบบปกปิดทางเดียว   ก�าเริบ โดยยังไม่ได้รับประทานยาแก้ปวด และเคยได้
           (single-blinded) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลฉับ  รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบันมาแล้วว่าเป็น

           พลันของการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าต่อระดับ  โรคไมเกรน ส่วนเกณฑ์คัดออก (exclusion criteria)
           ความปวดศีรษะในผู้ป่วยโรคไมเกรนขณะมีอาการ    คือ ไม่มีอาการปวดศีรษะไมเกรน หรือมีอาการปวด

           ปวดศีรษะก�าเริบ โดยการศึกษานี้ได้ผ่านการพิจารณา  ศีรษะไมเกรนแต่รับประทานยาแก้ปวดไปแล้ว ไม่มี
           จริยธรรมการท�าวิจัยในมนุษย์จากมหาวิทยาลัยพะเยา   ผลตรวจวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบันว่าเป็นโรค
           (เลขที่ 1.3/022/63)                         ไมเกรน มีแผลเปิดที่ศีรษะ หรือมีสาเหตุจากการได้

                                                       รับอุบัติเหตุหรือความเจ็บปวดหลังการผ่าตัด และเป็น
           1. วัสดุ                                    ผู้ป่วยทางจิต เมื่อได้ผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีคุณสมบัติครบ


                1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วย  ถ้วนตามเกณฑ์แล้ว จึงอธิบายรายละเอียดโครงการ
           ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรน เคยได้รับการวินิจฉัย  วิจัยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยทราบและหากผู้เข้าร่วมวิจัยยินดี
           จากแพทย์แผนปัจจุบันมาแล้วว่าเป็นโรคปวดศีรษะ  เข้าร่วมโครงการ พร้อมให้ลงชื่อในใบยินยอมก่อนเข้า

           ไมเกรน ช่วงอายุระหว่าง 20-65 ปี และมารับการรักษา  ร่วมโครงการ จากนั้นจะท�าการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
           ที่คลินิกแพทย์แผนจีนมหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัด  โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling)
           พะเยา ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.   แต่ละกลุ่มได้จากผู้ที่เข้ามารักษาในคลินิกแพทย์แผน

           2564 ท�าการค�านวณตัวอย่างอ้างอิงจากการศึกษาของ   จีน มหาวิทยาลัยพะเยา ตามล�าดับก่อนหลัง ใช้วิธีจับ
           Chiranthanut และคณะ  ปี ค.ศ. 2016 โดยใช้สูตร   ฉลากทีละใบแบบไม่ใส่คืนจนได้ผู้เข้าร่วมวิจัยครบ
                              [10]
           ดังนี้ [11]                                 ตามจ�านวนที่ก�าหนด

                            2(z a + z b) s                 1.2  อุปกรณ์ส�าหรับท�าการรักษา ใช้เข็มที่
                                     2  2
                   n 1 = n 2  =                        ผ่านการฆ่าเชื้อโรคและเป็นชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง ขนาด
                             ( 2 -  1 – d) 2+
                              m m
                                                       เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 มิลลิเมตร ความยาว 25
                ก�าหนดค่า [m2 (test)-m1 (control)=0], s =   มิลลิเมตร เครื่องหมายการค้า DONG BANG ผลิต
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43