Page 39 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 39

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  453




            จากสาธารณรัฐประชาชนจีน และเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
            ยี่ห้อ YING DI KWD-808I โดยวิธีกระตุ้นแบบเป็น

            จังหวะ (dilatational wave) ใช้กระแสไฟฟ้าขนาด
            0.1-1 mA ความถี่ 100 Hz


            2. วิธีกำรศึกษำ

                 2.1  ขั้นตอนการทดลอง
                 การท�าความสะอาดบริเวณจุดฝังเข็มด้วย

                                       [12]
            แอลกอฮอล์ 70% ก่อนฝังเข็มทุกครั้ง   กลุ่มทดลองได้
            รับการฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้า เลือกใช้จุดฝัง
                                                  [13]
            เข็มตามทฤษฎีการฝังเข็มตามระบบเส้นลมปราณ        ภาพที่ 1  จุดฝังเข็มจุดหลักที่ใช้ในการศึกษานี้
            เริ่มท�าการรักษาโดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยอยู่ในท่านั่ง
            ใช้เข็มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 0.25 ยาว 25

            มิลลิเมตร ฝังเข็มจุด Fengchi (GB20) แทงเฉียง   ขนาด 0.1-1 mA ความถี่ 100 Hz คาเข็มและกระตุ้น
            45 องศา ลึก 0.5 นิ้ว ให้ปลายเข็มแทงไปทิศทางเดียว  ไฟฟ้าทิ้งไว้ 30 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมจะได้รับการฝัง
            กับจมูกและคาง จากนั้นใช้มือประคองต้นคอผู้เข้า  เข็ม 30 นาที โดยไม่กระตุ้นเข็ม

            ร่วมวิจัย ให้ค่อย ๆ นอนหงายลงบนเตียง มือวางข้าง     2.2  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
            ล�าตัว ท�าการฝังเข็ม จุด Baihui (GV20), Yintang         1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ

            (EX-HN3) และ Shuaigu (GB8) แทงเฉียง 15 องศา   อายุ น�้าหนัก ส่วนสูง ระยะเวลาที่เป็นโรคไมเกรน
            ลึก 0.3 นิ้ว จุด Taiyang (EX-XN5) และ Neiguan   ระดับความปวดศีรษะไมเกรน ประวัติการรักษา
            (PC6) แทงตรง 90 องศา ลึก 0.5 นิ้ว จุด Hegu (LI14)   ทางการแพทย์หรือการผ่าตัด ตลอดจนประวัติการ

            และ Taichong (LR3) แทงตรง 90 องศา ลึก 0.8 นิ้ว   บาดเจ็บอื่น ๆ บริเวณศีรษะ ก่อนการรักษา
            (ภาพที่ 1) เลือกใช้จุดฝังเข็มจุดรองและจุดเสริมตาม        2) มาตรวัดระดับความรู้สึกเจ็บปวด (vi-
            สภาพร่างกายของแต่ละบุคคล ตามหลักการวินิจฉัย  sual analog pain scale; VAS)  ลักษณะเป็นเส้น
                                                                                 [14]
            โรคทางการแพทย์แผนจีน จากนั้นใช้เครื่องกระตุ้น  ตรงขนาด 10 เซนติเมตร มีตัวเลข 0-10 ก�ากับ โดย
            ไฟฟ้าหนีบที่ด้ามเข็มทุกจุดฝังเข็มบริเวณศีรษะ จับ  ปลายด้านซ้ายสุด หมายถึง ไม่รู้สึกปวด และปลาย
            คู่ระหว่างจุด Shuaigu (GB8) กับ จุด Taiyang    ด้านขวาสุด หมายถึงปวดรุนแรงมากที่สุด โดยให้ผู้เข้า

            (EX-XN5) จุด Hegu (LI14) กับ จุด Taichong (LR3)   ร่วมวิจัยท�าเครื่องหมายขีดระดับความรู้สึกเจ็บปวด
            ทั้งด้านซ้ายและขวา และจุด Baihui (GV20) กับ จุด   โดยเฉลี่ย (average pain) ตรงต�าแหน่งที่คิดว่าเป็น

            Yintang (EX-HN3) จากนั้นท�าการกระตุ้นไฟฟ้าแบบ  ระดับความปวดของตน การเปรียบเทียบคะแนนความ
            เป็นจังหวะ (dilatational wave) ใช้กระแสไฟฟ้า  ปวดกับระดับความรุนแรงของความปวด โดย 0 หมาย
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44