Page 50 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 50

464 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ตารางที่ 1  สมุนไพรที่ใช้ในการแช่เท้า [11]

             ล�าดับ     สมุนไพร      น�้าหนัก (กรัม)   สรรพคุณ
             1        เหง้าไพล (สด)      50         แก้ปวดกล้ามเนื้อ ฟกช�้า บวม แก้เคล็ด ขัด ยอก
             2        ใบมะขาม (สด)       30         ชะล้างสิ่งสกปรก ช่วยให้ผิวหนังต้านทานเชื้อโรค ได้ดียิ่งขึ้น
                                                    แก้อาการคันตามร่างกาย
             3        ผิวมะกรูด (สด)     20         แต่งกลิ่นให้หอม ท�าให้ผิวหนังชุ่มชื้น
             4       เหง้าขมิ้นชัน (สด)   10        แก้ลม แก้ปวด แก้ฟกช�้า บวม แก้เคล็ด ขัด ยอก ลดอาการอักเสบ
             5         ตะไคร้ (สด)       10         แต่งกลิ่นให้หอม แก้ปวดเมื่อย
             6       ใบส้มป่อย (สด)      10         แก้อาการคันตามร่างกาย แก้ปวดเมื่อย
             7          เกลือเม็ด     1 (ช้อนโต๊ะ)   ช่วยดูดความร้อนและช่วยพาให้ตัวยาซึม ผ่านผิวหนังได้ดีขึ้น
             8           การบูร       2 (ช้อนโต๊ะ)   แก้เคล็ด ขัด ยอก บวม

                         รวม           175 กรัม




           บริเวณเท้าระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ  p < 0.001* แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติระหว่างกลุ่ม

           โดยใช้ independent t-test                   ที่แช่เท้าด้วยสมุนไพรกับกลุ่มที่แช่เท้าไม่มีสมุนไพร
                โดยก�าหนดให้ค่าความแตกต่างอย่างมีนัย   (ตารางที่ 3)
           ส�าคัญทางสถิติ อยู่ที่ p < 0.05                 จุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติ (ข้างขวา) ลดลง

                                                       ภายในกลุ่มทั้งสองกลุ่มอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ p
                         ผลก�รศึกษ�                    < 0.001* แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติระหว่างกลุ่มที่แช่


                                                       เท้าด้วยสมุนไพรกับกลุ่มที่แช่เท้าไม่มีสมุนไพร (ตาราง
           1. คุณลักษณะประช�กร                         ที่ 4)

                คุณลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่างทั้งสอง

           กลุ่มมีความคล้ายคลึงกัน (p > 0.05) โดยพบว่ากลุ่ม  3. ก�รวัดอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้�โดยใช้
           ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 56-60   กล้องอินฟร�เรด

           ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส ประกอบอาชีพธุรกิจ      อุณหภูมิบริเวณเท้า (ข้างซ้าย) เพิ่มขึ้นทั้งสอง
           ส่วนตัว ระดับการศึกษาปริญญาตรี และผู้ดูแลหลัก  กลุ่มแต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งภายในกลุ่มและ
           เป็นบุคคลอื่น ๆ ในครอบครัว (ตารางที่ 2)     ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้าไม่มี

                                                       สมุนไพร (ตารางที่ 5)
           2. ก�รประเมินคว�มรู้สึกเท้�ด้วย monofila-       อุณหภูมิบริเวณเท้า (ข้างขวา) เพิ่มขึ้นทั้งสอง
              ment 10 g.                               กลุ่มแต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งภายในกลุ่มและ


                จุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติ (ข้างซ้าย) ลดลง  ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้าไม่มี
           ภายในกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   สมุนไพร (ตารางที่ 6)
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55