Page 30 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 30
444 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของอาการต่าง ๆ ตอนก่อนเริ่มการทดลอง, 2 สัปดาห์และ 4 สัปดาห์หลังการทดลอง
อาการ ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของอาการ ± SD.
ว่านหางจระเข้ Omeprazole
สัปดาห์ที่ 0 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 0 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 4
แสบร้อนกลางอก 21.51 ± 15.63 14.61 ± 8.59 10.05 ± 6.78 14.21 ± 9.31 10.97 ± 8.06 8.49 ± 7.87
เรอเปรี้ยว 11.89 ± 15.25 8.29 ± 8.07 4.82 ± 4.72 14.74 ± 17.88 9.38 ± 11.32 6.22 ± 8.08
กลืนล�าบาก 9.42 ± 11.76 4.21 ± 6.59 4.29 ± 6.04 2.84 ± 5.16 1.27 ± 3.15 1.49 ± 3.27
ท้องอืด 12.04 ± 8.83 9.88 ± 5.97 6.32 ± 3.50 21.03 ± 20.34 11.83 ± 9.84 8.44 ± 7.38
คลื่นไส้หรืออาเจียน 0.82 ± 0.76 0.47 ± 0.67 0.13 ± 0.43 2.17 ± 3.37 1.17 ± 1.77 0.78 ± 1.49
ตารางที่ 5 คะแนนความรุนแรงที่ลดลงต่อสัปดาห์ของอาการต่าง ๆ ของโรคกรดไหลย้อน
อาการ คะแนนความรุนแรงที่ลดลงต่อสัปดาห์ p-value
ว่านหางจระเข้ Omeprazole
แสบร้อนกลางอก 2.31 1.40 0.036
เรอเปรี้ยว 1.45 1.67 0.686
กลืนล�าบาก 0.88 0.42 0.157
ท้องอืด 1.32 1.94 0.271
คลื่นไส้หรืออาเจียน 0.14 0.22 0.362
ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการรักษาด้วยสารสกัด ย้อนมีความรุนแรงลดลงหลังได้รับการรักษาด้วยสาร
ว่านหางจระเข้เกิดผลข้างเคียงจ�านวน 3 คน คิดเป็น สกัดว่านหางจระเข้หรือ omeprazole
ร้อยละ 15 ประกอบด้วยอาการปวดท้อง 2 คน และ สารสกัดว่านหางจระเข้มีประสิทธิผลดีกว่า
ท้องเสีย 1 คน โดยผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย omeprazole ในการลดความถี่เฉลี่ยของการเกิด
omeprazole ไม่มีรายงานผลข้างเคียง อาการกลืนล�าบากซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ
Panahi และคณะที่พบว่าสารสกัดว่านหางจระเข้มี
อภิปรำยผล ประสิทธิผลในการลดความถี่ของอาการกลืนล�าบาก [12]
ผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละรายมีอาการเด่นของโรค เนื่องจากการอักเสบเป็นกลไกหลักที่ท�าให้เกิดอาการ
กรดไหลย้อนแตกต่างกันและจ�านวนครั้งของการ กลืนล�าบาก สารสกัดว่านหางจระเข้ประกอบด้วย
[13]
เกิดแต่ละอาการน้อย ซึ่งส่งผลให้ผู้เข้าร่วมวิจัยรู้สึก วิตามิน เอนไซม์ แร่ธาตุ และสารอื่น ๆ มากกว่า 75
ไม่แตกต่างของจ�านวนครั้งที่เกิดอาการหลังได้รับการ ชนิดที่ออกฤทธิ์ร่วมกัน ท�าหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูล
[11]
รักษาด้วยสารสกัดว่านหางจระเข้หรือ omeprazole อิสระและสารต้านการอักเสบ โดยมีฤทธิ์ลดการ
[14]
[15]
แต่ผู้เข้าร่วมวิจัยรู้สึกว่าอาการต่าง ๆ ของโรคกรดไหล อักเสบจากสาร Acemannan Aloe-emodin และ