Page 27 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 27

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  441




                   1) ผู้ป่วยไม่สามารถทนผลข้างเคียงหรือแพ้  ให้คะแนนตามระดับความรุนแรง 1-10 คะแนน โดย
            ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ                          1 คะแนน หมายถึง มีอาการเพียงเล็กน้อย 5 คะแนน

                   2) ผู้ป่วยไม่รับประทานผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ  หมายถึง อาการปานกลางพอทนได้ 10 คะแนน
            อย่างต่อเนื่อง                              หมายถึง อาการรุนแรงมากที่สุด
                   3) ผู้ป่วยรับประทานยาหรือสมุนไพรอื่น ๆ         1.4.6  แบบประเมินผลข้างเคียงหลังจาก

            ที่ไม่ใช่สารสกัดว่านหางจระเข้หรือ omeprazole   รับประทานสารสกัดว่านหางจระเข้หรือ omeprazole
                   4) ผู้ป่วยเกิดภาวะที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ  ได้แก่ อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดท้อง ท้อง
            และชีวิตจากการเข้าร่วมงานวิจัย              ผูก ท้องเสีย โดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยรายงานอาการผล

                   5) ผู้ป่วยมีความประสงค์จะออกจากงาน   ข้างเคียงเมื่อมาตรวจติดตาม
            วิจัย                                               1.4.7  เอกสารจดบันทึกอาการ ขณะเกิด
                   6) ขาดการติดต่อ ไม่มาติดตามอาการที่ 2   อาการที่บ้าน

            สัปดาห์ หรือ 4 สัปดาห์
                 1.4  เครื่องมือที่ใช้                  2. วิธีกำรศึกษำ

                    1.4.1  แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้า     2.1  ผู้เข้าร่วมวิจัยท�าแบบบันทึกข้อมูลพื้นฐาน
            ร่วมวิจัย ได้แก่ เพศ อายุ น�้าหนัก ส่วนสูง โรคร่วม      2.2  ท�าแบบประเมินอาการ ได้แก่ แสบร้อน
            ประวัติผ่าตัด การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ ยาที่  กลางอก เรอเปรี้ยว กลืนล�าบาก ท้องอืด คลื่นไส้/

            รับประทานเป็นประจ�า ยาที่เคยรับประทานรักษาโรค  อาเจียน และแบบประเมินความรุนแรงของแต่ละ
            กรดไหลย้อน พฤติกรรมการรับประทานอาหารและ     อาการตั้งแต่ 1-10 คะแนน

            การออกก�าลังกาย                                  2.3  นัดมาติดตามอาการที่ระยะเวลา 2 สัปดาห์
                    1.4.2  เอกสารข้อมูลค�าอธิบายส�าหรับผู้เข้า  และ 4 สัปดาห์ พร้อมท�าแบบประเมินอาการ แบบ
            ร่วมในโครงการ                               ประเมินความรุนแรงของโรค และแบบประเมินผลข้าง

                    1.4.3  เอกสารแสดงความยินยอมเข้าร่วม  เคียง
            ในโครงการ                                        2.4  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบ
                    1.4.4  แบบประเมินอาการ ประกอบด้วย   เทียบความถี่ของการเกิดอาการต่าง ๆ ของโรคกรด

            5 อาการ ได้แก่ แสบร้อนกลางอก เรอเปรี้ยว กลืน  ไหลย้อนและระดับความรุนแรงของแต่ละอาการของ
            ล�าบาก ท้องอืด และคลื่นไส้/อาเจียน ซึ่งเป็นอาการที่  กรดไหลย้อนในสัปดาห์ที่ 0, 2, 4 ใช้สถิติ General-
            พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน โดยจะสอบถาม  ized Estimating Equations (GEE) ส�าหรับข้อมูล

            จ�านวนครั้งของการเกิดอาการต่อสัปดาห์        ต่อเนื่องที่วัดซ�้าและมี correlation แบบตัวแปรพหุ
                    1.4.5  แบบประเมินความรุนแรงของโรค   (multivariable) เพื่อคุมความถี่ คะแนนความรุนแรง

            Likert scale เพื่อประเมินความรุนแรงในแต่ละครั้ง  ของอาการ (baseline value) และการออกก�าลังกาย
            ที่เกิดอาการต่าง ๆ ของโรคกรดไหลย้อน โดยเป็นการ  ที่ต่างกันตั้งแต่ต้น
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32