Page 20 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 20

434 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม  2565




           ผู้ป่วยสามารถท�าได้เอง โดยเฉพาะการแช่เท้าด้วยน�้า  ระยะเวลาการเก็บรักษา และมีความสามารถในการ
           อุ่นที่ไม่มีสมุนไพร ควรท�าการศึกษาเพื่อยืนยันผล   ยับยั้งสารอนุมูลอิสระลดลงตามระยะเวลาการเก็บ

           โดยออกแบบการศึกษาเปรียบเทียบในกลุ่มผู้ป่วย  รักษาด้วย โดยพบว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4˚ซ.
           ที่มีลักษณะและความรุนแรงของปัญหาแตกต่างกัน  สามารถท�าให้ความคงตัวทางกายภาพดีที่สุด จึงมีเรื่อง
                เรื่องที่สี่ การพัฒนาเจลสารสกัดขมิ้นชัน  ที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก เรื่องที่เก้าการตรวจสอบ

           ส�าหรับการใช้รักษาโรคปริทันต์ พบว่าสามารถ   คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของใบชะมวง
           พัฒนาเจลต�ารับสารสกัดขมิ้นชันที่มีความคงตัวดี   เป็นการศึกษามาตรฐานของสมุนไพรนี้ที่ยังไม่มีข้อ
           เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไป เรื่อง  ก�าหนดมาตรฐานในต�ารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย

           ที่ห้า การพัฒนาเม็ดสารสกัดใบเตยเพื่อใช้ย้อม  การศึกษานี้น�าไปสู่การจัดท�ามอโนกราฟใบชะมวง และ
           คราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน พบว่าสารสกัดใบเตยใน  สามารถใช้เป็นแนวทางในการก�าหนดมาตรฐานของ
           รูปเม็ดกลมสามารถน�ามาพัฒนาเป็นสีย้อมคราบ    ใบชะมวงแห้งในต�ารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย เพื่อ

           จุลินทรีย์บนผิวฟันจากธรรมชาติได้ โดยต้องมีการ  เป็นมาตรฐานอ้างอิงของประเทศต่อไป เรื่องที่สิบการ
           ศึกษาเพิ่มเติมเพื่อน�าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป   ศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านไทยในการรักษาโรค

           เรื่องที่หก ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งการ  เลือดโรคลม: กรณีศึกษาหมอลินทร์ สิทธิพล อ�าเภอ
           สร้างไนตริกออกไซด์ของต�ารับยาบ�ารุงไขข้อ พบ  ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เป็นการศึกษาภูมิปัญญา
           ว่า สารที่สกัดด้วยเอทิลอะซีเตทมีฤทธิ์ทางชีวภาพ  หมอพื้นบ้านที่ได้ข้อมูลค่อนข้างมาก เป็นตัวอย่างที่ดี

           ที่ดี หากจะน�าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ยังต้องน�า  ของการศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน
           สารสกัดดังกล่าวไปศึกษาต่อ ตั้งแต่การศึกษากับ      บทปริทัศน์ เรื่องที่หนึ่ง ข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อ

           chondrogenic cell ในห้องทดลอง ศึกษาฤทธิ์ต้าน  สนับสนุนการใช้ต�ารับยาทาพระเส้นในโรคข้อเสื่อม
           อนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านการอักเสบในสัตว์ทดลอง  ได้ทบทวนการศึกษาต�ารับยานี้อย่างค่อนข้างกว้าง
           ก่อนน�าไปศึกษาในคนต่อไป เรื่องที่เจ็ด ฤทธิ์ทาง  ขวาง พบว่ามีการศึกษาการออกฤทธิ์ทางชีวภาพเฉพาะ
           ชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งมะเร็งและปริมาณ   ในหลอดทดลอง ยังไม่มีการศึกษาในสัตว์ทดลอง และ

           ฟีนอลิกของต�ารับยาแก้มะเร็งในมดลูก ผลการ    ยังไม่มีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แต่มีการศึกษา
           ศึกษาพบว่าสารสกัดของต�ารับยาดังกล่าวไม่สามารถ  การออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรแต่ละตัวใน

           ยับยั้งเซลล์มะเร็งมดลูกและเซลล์มะเร็งรังไข่ได้   ต�ารับ โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ
           และมีฤทธิ์ต้านเชื้อราในระดับต�่า แต่ผู้นิพนธ์ยัง  ทั้งรูปแบบของเจล บาล์ม และครีม แต่ยังไม่มีรูปแบบ
           เห็นว่าควรน�าไปศึกษาผลกับเซลล์มะเร็งอื่น ๆ    เซรั่ม และยังไม่มีการทดสอบประสิทธิผลในมนุษย์

           เพิ่มเติม เช่น มะเร็งปากมดลูก               ส่วนการศึกษาทางคลินิกถึงผลการรักษาอาการปวด
                เรื่องที่แปด การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและ  ข้อพบว่ายาต�ารับนี้มีประสิทธิผลและความปลอดภัย

           ความคงตัวทางกายภาพและเคมีของยาต้มแก้ไข้ตัว  เรื่องที่สอง การฝังเข็มแบบปลุกสมองเปิดทวารและ
           ร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา พบว่ายาต้มดังกล่าวมี  การใช้ยาสมุนไพรจีนในการรักษาภาวะสมองเสื่อม
           ปริมาณฟีนอลิกรวมและฟลาโวนอยด์รวมลดลงตาม     จากโรคหลอดเลือดสมอง ได้ทบทวนรายงานวิจัยจาก
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25