Page 19 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 19
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565 Vol. 20 No. 3 September-December 2022
บรรณาธิการแถลง
บรรณาธิการแถลง
ช่วงที่ผ่านมา การแพร่ระบาดของโควิด-19 เข้า 4 เรื่อง และรายงานเบื้องต้น 1 เรื่อง
สู่แนวโน้มใหม่ แม้การระบาดจะยังไม่สงบ และเชื้อ นิพนธ์ต้นฉบับเรื่องแรก ประสิทธิผลของสาร
โรคยังมีการกลายพันธุ์อย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจาก สกัดว่านหางจระเข้เปรียบเทียบกับ omeprazole
ประชากรส่วนใหญ่ในโลกมีภูมิคุ้มกันอย่างกว้างขวาง ในการรักษาโรคกรดไหลย้อน พบว่าสารสกัดว่าน
แล้ว ทั้งจากวัคซีนและการติดเชื้อ ประกอบกับเชื้อโรค หางจระเข้มีประสิทธิผลดีกว่า omeprazole แต่การ
มีการกลายพันธุ์ในลักษณะลดความรุนแรงลง ท�าให้ ศึกษานี้ยังมีข้อจ�ากัดที่มิใช่การศึกษาแบบสุ่มเปรียบ
ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่ปรับนโยบายเป็นการเปิด เทียบโดยปกปิดทั้งสองด้าน ขนาดกลุ่มตัวอย่างเพียง
ประเทศ ลดความเข้มงวดเรื่องการรักษาระยะห่าง กลุ่มละ 20 คน จึงไม่ใช่การศึกษาในคนระยะที่สาม
และการสวมหน้ากากอนามัย ในเทศกาลการแข่งขัน และพบผลข้างเคียงถึง 3 คน จาก 20 คน นอกจากนี้
ฟุตบอลโลกที่ประเทศกาตาร์ในช่วงเดือนพฤศจิกายน เกณฑ์คัดออกข้อ 1) และ 2) ควรเป็นเกณฑ์ตัดออก
ต่อเดือนธันวาคม 2565 ที่มีการชุมนุมของผู้คนจ�านวน จากการศึกษา (discontinuation criteria) จ�าเป็น
มากและค่อนข้างหนาแน่น แทบไม่ปรากฏภาพคน ต้องศึกษาเพิ่มเติมต่อไป เรื่องที่สอง ผลฉับพลันของ
สวมหน้ากากอนามัยในสนามแข่งขันเลย สาธารณรัฐ การฝังเข็มร่วมกับการกระตุ้นไฟฟ้าต่ออาการปวด
ประชาชนจีนซึ่งยึดนโยบายโควิด-19 เป็นศูนย์ เพราะ ศีรษะในผู้ป่วยโรคไมเกรน พบว่าการฝังเข็มร่วมกับ
ประชากรมีการติดเชื้อน้อยมาก และประชากรกลุ่ม การกระตุ้นไฟฟ้าให้ผลฉับพลันในการบรรเทาอาการ
เสี่ยงจ�านวนมากยังได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้นในอัตรา ปวดศีรษะไมเกรนดีกว่าการฝังเข็มโดยไม่มีการกระตุ้น
ไม่สูง รัฐบาลทนต่อแรงกดดันจากการประท้วงไม่ ไฟฟ้า เป็นการยืนยันผลของการศึกษาในอดีตโดย
ได้ และเริ่มผ่อนคลายความเข้มงวดของมาตรการ การศึกษานี้ขนาดกลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก เรื่องที่
ควบคุมป้องกันโรคลงอย่างมีนัยส�าคัญ ประเทศไทย สาม ประสิทธิผลและความปลอดภัยของการแช่เท้า
เองก็ได้ปรับสถานะของโรคจากโรคติดต่ออันตราย ด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอาการ
มาเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังมาหลายเดือนแล้ว ชาเท้า พบว่า การแช่เท้าด้วยสมุนไพรในน�้าที่อุณหภูมิ
การศึกษาวิจัยและพัฒนาวัคซีนและการวิจัยยารักษา 38-40˚ซ. ช่วยลดจุดที่ไม่รับความรู้สึกบริเวณเท้า และ
โควิด-19 โดยเฉพาะยาจากสมุนไพรในประเทศไทย มีความปลอดภัย โดยการแช่เท้าในน�้าที่อุณหภูมิ 38-
ยังไม่มี “ข่าวดี’’ ที่ชัดเจนในช่วงที่ผ่านมา 40˚ซ. ที่ไม่มีสมุนไพรก็ได้ผลไม่แตกต่างกันอย่างมี
วารสารฉบับนี้ มีบทความน�าเสนออย่างคับคั่ง นัยส�าคัญ นับเป็นผลการศึกษาที่น่าสนใจ และสามารถ
เช่นเคย แบ่งเป็นนิพนธ์ต้นฉบับ 10 เรื่อง บทปริทัศน์ น�าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง เพราะเป็นวิธีง่าย ๆ
433