Page 73 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 73

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  505




            ศาสนา ที่มีอิทธิพลต่อชีวิตบุคคล จิตวิญญาณ   ด้วยการแพทย์แผนไทย โดยการทำางานเป็นทีมของ

            โดยเฉพาะการปฏิบัติตามหลักธรรมานามัย ซึ่ง    สหวิชาชีพช่วยเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและ
            สอดคล้องกับการศึกษาของระวีวรรณ พิไลยเกียรติ  อาการของผู้ป่วยดีขึ้นส่งผลให้เกิดความพึงพอใจต่อ

            และคณะ ที่พบว่า ความสำาคัญของการดูแลด้าน    บริการที่ได้รับ สอดคล้องกับการศึกษาของ จินนะรัตน์
            จิตวิญญาณ คือ การเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าใน  ศรีภัทรภิญโญ อธิบายได้ว่าผู้ป่วยและผู้ดูแลหลัก
                                                                   [18]
            ตนเองของผู้ป่วยและทำาให้ยอมรับสภาพของตนเองได้   ได้รับการเตรียมความพร้อมในการ วางแผนจำาหน่าย
            รวมถึงการดูแลเพี่อบรรเทาอาการรบกวน และความ  ตั้งแต่ระยะแรกรับ โดยผู้ป่วยและผู้ดูแลหลักมีส่วน
            ทุกข์ทรมานจากอาการที่เกิดขึ้นนี้ จากการเจ็บป่วย  ร่วมในการดูแล มุ่งเน้นให้ผู้ป่วยและ ผู้ดูแลหลักได้

            หรือ การดำาเนินของโรค ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษา  พัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและดูแลผู้ป่วย
            อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ทั้งตลอดระยะ  อย่างเต็มศักยภาพเพื่อทำาหน้าที่ได้ สูงสุดก่อนจำาหน่าย
            เวลาที่รับไว้ในความดูแลรักษา และเมื่อกลับไปอยู่  มีผลทำาให้ภายหลังจำาหน่ายกลับบ้าน ผู้ป่วยและ

                [15]
            บ้าน  สอดคล้องกับหลักการดูแลรักษาที่พบว่า การ  ผู้ดูแลหลักมีเป้าหมายในการดูแลรักษา เกิดความ
            ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายให้มีประสิทธิภาพ   มั่นใจและภาคภูมิใจ มุ่งมั่นในการ พึ่งพาตนเอง ผู้ดูแล

            ต้องอาศัยการทำางานเป็นทีมของบุคลากรหลายฝ่าย   หลักสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง
            ประกอบกันร่วมทีมกันให้การดูแลรักษา ให้ความคิด  นอกจากนี้พบว่าผู้ป่วยและผู้ดูแลหลักมีความพึง
            เห็น ข้อเสนอแนะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน   พอใจต่อบริการของทีมสหวิชาชีพในระดับมาก ทั้งนี้

            ตลอดจนปรึกษาการดูแลรักษาร่วมกันจึงจะประสบ   เนื่องจากผู้ป่วย/ผู้ดูแลหลักได้รับการดูแลตาม
            ความสำาเร็จอย่างดี  แผนการดูแลผู้ป่วยและแนวทาง  แผนการดูแลที่กำาหนดโดยผู้ป่วยและผู้ดูแลหลักได้
                          [16]
            เวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งด้วยการแพทย์  รับ การเตรียมอย่างเป็นระบบเป็นกระบวนการ มีการ
            แผนไทย แนวปฏิบัติการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่อง  ทำางานร่วมกันของบุคลากรทีมสหวิชาชีพให้สอดคล้อง
            และการเยี่ยมบ้าน ช่วยให้การดูแลรักษาเป็นไปใน  กับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยแต่ละราย ผู้

            ทิศทางเดียวกัน และครอบคลุมปัญหาความต้องการ  ป่วย/ผู้ดูแลหลักได้รับความรู้และฝึกทักษะที่จำาเป็น
            ของผู้ป่วย ทำาให้เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลรักษา   ในการดูผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ทำาให้เกิดความมั่นใจ
            สอดคล้องกับ การศึกษาที่ผ่านมาที่พบว่าการใช้รูป  และสามารถดูแลตนเอง/ดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม

            แบบการดูแลที่มีแผนการดูแลผู้ป่วยเป็นองค์ประกอบ
            หลักช่วยให้เกิด ประสิทธิภาพในการดูแล ระดับ                  ข้อสรุป
                                             [17]
            และอาการของผู้ป่วยดีขึ้น มีค่าคะแนนระดับผู้ป่วย     ประสิทธิผลของการพัฒนารูปแบบการดูแล

            และแบบติดตามอาการเพิ่มขึ้นผู้ป่วยและผู้ดูแลหลัก  รักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผน
            มีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น                      ไทยในครั้งนี้ ช่วยเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

                 2. ผลลัพธ์การนำารูปแบบการดูแลรักษาไปใช้  และอาการของผู้ป่วยดีขึ้น โดยประกอบด้วย 2 ส่วน
            กับผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย   คือ 1) การที่ทีมสหวิชาชีพ มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์
            พบว่ารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย  สถานการณ์ปัญหาการดูแลรักษา มีส่วนร่วมและมี
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78