Page 68 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 68

500 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                  1.4 แนวปฏิบัติการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อ  Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83
           เนื่องและการเยี่ยมบ้าน ที่ผู้วิจัยและทีมพัฒนาขึ้น       2.4 แบบการประเมินอาการต่าง ๆ ในป่วย

                2.  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล   ระยะสุดท้าย Edmonton Symptom Assess-
           ประกอบด้วยแบบประเมิน จำานวน 5 ชุดดังนี้     ment System (ESAS) โดยให้ผู้ป่วยเป็นผู้ประเมิน
                  2.1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่ม  อาการต่าง ๆ ที่มี ณ เวลาที่ประเมิน ทั้งหมด 9 อาการ

           ตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม                        ประกอบด้วย อาการปวด อาการเหนื่อย/อ่อนเพลีย
                  2.2 แบบสอบถามความเห็นของสหวิชาชีพ    อาการคลื่นไส้ อาการซึมเศร้า อาการวิตกกังวล อาการ
           ต่อการนำารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะ  ง่วงซึม อาการเบื่ออาหาร อาการเหนื่อยหอบ และ

           สุดท้ายไปใช้ในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย       อาการอื่น ๆ ที่เป็นคำาถามปลายเปิดให้ผู้ป่วยบอก
                  2.3 แบบประเมินความพึงพอใจของทีม      ระดับการวัดแต่ละอาการจะถูกแบ่งเป็นหมายเลข
           สหวิชาชีพที่ให้บริการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย  0-10 แบบ เป็น visual numeric scales (VNS)

           ด้วยการแพทย์แผนไทยจำานวน 10 ข้อ เป็นมาตราส่วน  โดยเลข 0 หมายถึง ไม่มีอาการ และเลข 10 หมายถึง
           ประมาณค่า (rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับดังนี้ 1   มีอาการมากที่สุด และ ในข้อความสบายดีทั้งกายและ

           คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด   ใจ (well-being) เลข 0 หมายถึง ผู้ป่วยรู้สึกสบายดี
           จนถึง 5 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก  ทั้งกายและใจและเลข 10 หมายถึง ผู้ป่วยรู้สึกไม่สบาย
           ที่สุด การแปลผลใช้เกณฑ์ของประคอง กรรณสูต ซึ่ง  ทั้งกายและใจ

           มีเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้                        2.5 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
                  คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความ   และผู้ดูแลหลักผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายต่อรูปแบบ

           พึงพอใจระดับน้อยที่สุด                      การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการ
                  คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึงมีความ  แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
           พึงพอใจน้อย                                 จำานวน 10 ข้อ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (rating

                  คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึงมีความ  scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 1 คะแนน หมายถึง มี
           ถึงพอใจปานกลาง                              ความ พึงพอใจระดับน้อยที่สุด จนถึง 5 คะแนน
                  คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึงมีความ  หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด การแปลผล

           พึงพอใจมาก                                  ใช้เกณฑ์ของประคอง กรรณสูต เช่นเดียวกัน
                  คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึงมีความ     ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรง
           พึงพอใจมากที่สุด                            คุณวุฒิ 3 ท่าน ตรวจสอบค่าความเชื่อมั่นของแบบ

                ตรวจสอบความตรงเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ 3   สอบถามโดยนำาไปทดลองใช้กับผู้ป่วยหรือผู้ดูแล
           ท่าน ทดสอบค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามโดยนำา  ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย จำานวน 15 ราย วิเคราะห์

           ไปทดลองใช้กับทีมสหวิชาชีพที่ให้บริการดูแลรักษา  หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s
           ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย 15 ราย วิเคราะห์ หาค่า  Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85
           สัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s Alpha      ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์โดย ใช้สถิติเชิง
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73