Page 70 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 70

502 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ว่า ความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพต่อ ระบบการดูแล   มัธยมศึกษาตอนปลาย 12 คน (ร้อยละ 40) มีความ
           รักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย   สัมพันธ์กับผู้ป่วยโดยเป็นบุตร 15 คน (ร้อยละ 50)

           หลังการพัฒนาระบบสูงกว่าก่อนพัฒนาระบบอย่างมี     ผลลัพธ์ของผู้ป่วยทางด้านร่างกาย จิตใจ และ
           นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังตารางที่ 2  ความสบายดีทั้งกายและใจในการประเมินและติดตาม
                2.  ด้านผู้ใช้บริการ                   อาการต่าง ๆ ในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายก่อนและหลัง
                ด้านผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่าง จำานวน 30 คนเป็นเพศ  จำาหน่ายออกจากโรงพยาบาล พบว่า อาการต่าง ๆ ของ

           หญิง 17 คน (ร้อยละ 56.67) เพศชาย 13 คน (ร้อยละ   ผู้ป่วยหลังจำาหน่ายออกจากโรงพยาบาลดีขึ้นกว่าก่อน
           43.33) มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 14 คน (ร้อยละ 46.67)   เข้ารับการดูแลรักษา อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (P <

           สำาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา 12 คน (ร้อยละ   0.001) ดังแสดงในตารางที่ 3
           40.00) ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบันว่า       2.2 ความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งระยะ
           เป็นผู้ป่วยมะเร็งระยะที่ 3 และ 4 และสามารถปฏิบัติ  สุดท้ายต่อการบริการของทีมสหวิชาชีพพบว่า ผู้ป่วย

           กิจวัตรประจำาวันเองได้ทั้งหมด               มะเร็งระยะสุดท้ายมีค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ
                ด้านผู้ดูแลหลัก กลุ่มตัวอย่างจำานวน 30 คน   ต่อบริการของทีมสหวิชาชีพอยู่ในระดับมากที่สุดโดย

           เพศหญิง 23 คน (ร้อยละ 76.67) มีอายุระหว่าง 40-  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 (S.D. = 0.46) ดังตารางที่ 4
           50 ปี 13 คน (ร้อยละ 43.33) สำาเร็จการศึกษาระดับ       2.3 ความพึงพอใจของผู้ดูแลหลักต่อการ



           ตารางที่ 1  ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความเป็นไปได้ของของกลุ่มตัวอย่างทีมสหวิชาชีพผู้ใช้รูปแบบใน
                    การดูแลรักษาผู้ป่วย จำาแนกตามระดับความเป็นไปได้ในการนำารูปแบบไปใช้โดยรวม (n = 55)

            ลำาดับ  ความเป็นไปได้ในการนำารูปแบบไปใช้                 x    S.D.  ระดับความเป็นไปได้
             1    มีความสะดวกและง่านต่อการนำาไปใช้                  2.22  0.65     ปานกลาง
             2    มีความชัดเจนของข้อเสนอแนะในแนวปฏิบัติ             2.81  0.63       มาก
             3    มีเหมาะสมต่อการนำาไปใช้ในหน่วยงาน                 2.71  0.54       มาก
             4    ประหยัด ลดต้นทุนด้านกำาลังคน เวลาและงบประมาณ      2.75  0.73       มาก
             5    รูปแบบการดูแลรักษาสามารถแก้ปัญหาและเกิดผลดีต่อผู้รับบริการ  2.96  0.77   มาก
             6    มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติที่จะนำาไปใช้ในหน่วยงาน   2.89  0.55    มาก

                  รวม                                               2.80  0.76       มาก



           ตารางที่ 2  เปรียบเทียบความพึงพอใจของสหวิชาชีพต่อรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์
                    แผนไทย (n = 55)

            การประเมิน               x            S.D.         t-test         df        p-value
            ก่อนพัฒนารูปแบบ         3.02         0.22          10.23         35         0.001 *
            หลังพัฒนารูปแบบ         4.12         0.18
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75