Page 74 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 74

506 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ความมุ่งมั่นในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง  สหวิชาชีพแผนปัจจุบันและระหว่างแพทย์แผนไทย
           ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย 2) การพัฒนา   ด้วยกันเองเนื่องจากเป็นหลักในการดูแลรักษาผู้ป่วย

           แนวทางเวชปฏิบัติการและแผนการดูแลรักษาผู้ป่วย  ที่ต้องตัดสินใจการขบวนการดูแลรักษา
           มะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยที่สร้าง
           ขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลรักษา ซึ่งจะ  3. ด้�นข้อมูลวิช�ก�รและก�รวิจัย

           ครอบคลุมทุกกระบวนการการดูแลนับแต่ผู้ป่วยเข้า     3.1 ควรเร่งรัดพัฒนาองค์ความรู้แพทย์แผนไทย
           มารับการรักษาจนกระทั่งจำาหน่ายกลับบ้าน      ในการดูแลรักษาโรคมะเร็งระยะสุดท้ายทางการแพทย์
                                                       แผนไทย เพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุน ยืนยันผลการรักษา
                         ข้อเสนอแนะ                    ผู้ป่วยด้วยการแพทย์แผนไทย

                                                           3.2 ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อประเมินผลลัพธ์ทั้ง
           1. ด้�นนโยบ�ยและก�รบริห�ร                   เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เช่น การติดตามคุณภาพ

                รูปแบบการบริการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะ  การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายอย่างเป็น
           สุดท้ายในสถานพยาบาลมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ  ระบบและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติ

           นโยบายการสนับสนุนของผู้บริหารไม่เป็นในทิศทาง     3.3 ควรศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็ง
           เดียวกันส่งผลให้การประเมินผลรูปแบบให้เป็นไปใน  ระยะสุดท้ายที่บ้านให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
           ทิศทางเดียวกันกระทำาได้ยาก                  เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนและพัฒนารูปแบบ

                                                       การดูแลรักษาให้คลอบคลุม
           2. ด้�นกำ�ลังคน
                                                       4. ด้�นรูปแบบก�รบริก�ร
                2.1 ควรพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ
           การแพทย์แผนไทยในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ        4.1 ควรหารูปแบบที่เหมาะสมระหว่าง การเปิด
           สุดท้าย โดยการส่งอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ  ให้บริการแบบโดดเดี่ยว (stand alone) แบบคู่ขนาน

           การดูแลผู้ป่วย เพื่อให้มีองค์ความรู้ในการดูแลผู้ป่วย  กับการแพทย์แผนปัจจุบัน (parallel) หรือแบบผสม
           ระยะท้ายให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น              ผสาน (integrative) ในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
                2.2 เนื่องจากมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบใช้  ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยว่ารูปแบบการ

           กำาลังคนที่แตกต่างกันควรมีการวิเคราะห์อัตรากำาลัง  บริการแบบใดเหมาะสมกับการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
           ในแต่ละรูปแบบเพื่อให้มีกำาลังเพียงพอต่อการดูแล   ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์ไทย
           ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายในแต่ละรูปแบบ           4.2 ควรพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลหลักเพื่อให้

                2.3 ควรให้ความรู้แก่ทีมสหวิชาชีพแผนปัจจุบัน  เกิดการดูแลที่ต่อเนื่องในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
           เกี่ยวกับแนวคิดการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา  ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย เนื่องด้วยบาง

           ผู้ป่วยมะเร็ง                               ครั้งตัวผู้ดูแลไม่ได้ยอมรับหรือเข้าใจการดูแลรักษา
                2.4 ควรหาวิธีการเพิ่มช่องทางการสื่อสารให้เกิด  ด้วยการแพทย์แผนไทยแต่เพราะไม่มีทางเลือกหรือ
           ความเข้าใจร่วมกันด้านระหว่างแพทย์แผนไทยกับทีม  ผู้ป่วยเป็นคนเลือกต้องปฏิบัติตามผู้ป่วย
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79