Page 72 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 72

504 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ตารางที่ 5  ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายต่อบริการที่ได้
                    รับต่อรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย (n = 30)

            ลำาดับ  การบริการที่ได้รับ                               x    S.D.  ระดับความพึงพอใจ
             1.  ท่านได้รับทราบข้อมูลและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง  3.47  0.60   มาก
             2.  ท่านได้มีส่วนร่วมในการวางแผนและตัดสินใจในการดูแลผู้ป่วย   4.25  0.73   มากที่สุด
             3.  ท่านพึงพอใจที่ผู้ป่วยได้รับการบรรเทาอาการรบกวนอย่างเหมาะสม  4.02  0.71   มากที่สุด
                 เช่นอาการเจ็บปวด เหนื่อยหอบ คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เป็นต้น
                                                            ่
             4.  ท่านพึงพอใจที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลกิจวัตรประจำาวันอย่างสมำาเสมอ  4.15  0.62   มากที่สุด
             5.  ทีมผู้ให้บริการดูแลรักษาทำาให้ท่านรู้สึกอบอุ่นใจและไว้วางใจ   3.92  0.81   มาก
             6.  ท่านได้รับความสะดวกและอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย       4.45  0.83       มากที่สุด
             7.  ท่านพึงพอใจที่ได้รับความสะดวกเอื้อต่อการจัดกิจกรรม   4.28  0.89    มากที่สุด
                 ตามประเพณี ความเชื่อและศาสนาอย่างเหมาะสม ในระยะที่ผู้ป่วย
                 ใกล้ตายหรือหลังจากถึงแก่กรรม
             8.  ผู้ป่วยถึงแก่กรรมได้รับการปฏิบัติอย่างเหมาะสมจากทีมผู้ให้บริการ  3.78  0.72   มาก
                 ดูแลรักษา
             9.  ท่านได้รับการช่วยเหลือ / แนะนำา / อำานวยความสะดวกในขั้นตอน  4.26  0.66   มากที่สุด
                 การนำาผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
            10.  ท่านพึงพอใจต่อการดูแลรักษาผ้ป่วยของทีมผู้ให้บริการดูแล   4.31  0.45   มากที่สุด
                 รักษาโดยรวม
                 รวม                                               4.22  0.38       มากที่สุด




           บริการของทีมสหวิชาชีพพบว่าผู้ดูแลมีค่าคะแนน  ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย
           เฉลี่ยความพึงพอใจต่อบริการของทีมสหวิชาชีพอยู่  3) แนวทางการดูแลแบบองค์รวมในผู้ป่วยมะเร็งระยะ
           ในระดับ มากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 (S.D.   สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย 4) แนวปฏิบัติการ

           = 0.38) ดังตารางที่ 5                       ส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่องและการเยี่ยมบ้าน เป็น
                                                       รูปแบบที่เป็นการทำางานร่วมกันของทีมสหวิชาชีพ
                         อภิปร�ยผล                     ผู้ให้การดูแลรักษา โดยมีการกำาหนดบทบาท หน้าที่


                1.  การใช้รูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง  ความรับผิดชอบและ กิจกรรมการดูแลรักษาไว้อย่าง
           ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล    ชัดเจน การมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพทำาให้การ

           การแพทย์แผนไทยที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย       ดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นระบบและครอบคลุมความเป็น
           ผู้ปฏิบัติงานจาก 4 วิชาชีพ ผู้ให้การดูแลรักษาประกอบ  องค์รวม (holistic care) โดยคำานึงถึง ความเป็น

           ด้วยประเด็นสำาคัญดังนี้ 1) แนวทางเวชปฏิบัติ  ปัจเจกบุคคล ความต้องการของผู้ป่วยและ ครอบครัว
                                                                                          [14]
           การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการ  เพื่อวางแผนการดูแลรักษาได้อย่างถูกต้อง  ให้
           แพทย์แผนไทย 2) บทบาททีมสหวิชาชีพในการดูแล   ความสำาคัญกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้านวัฒนธรรม
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77