Page 69 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 69
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 501
พรรณนา (descriptive statistics) ในการแจกแจง และความต้องการด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และต้องใช้เวลาในการประเมินซึ่ง
สำาหรับข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้ จากการประเมินความ เป็นการเพิ่มภาระงาน อย่างไรก็ตามทีมสหวิชาชีพได้
พึงพอใจของทีมสหวิชาชีพต่อรูปแบบการดูแลรักษา มองเห็นผลด้านบวกคือเกิดการทำางานร่วมกันระหว่าง
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย จาก แพทย์แผนไทยและทีมสหวิชาชีพอื่น ๆ และมีความ
แบบประเมินและติดตามอาการต่าง ๆ ในผู้ป่วยระยะ พยายามจะสื่อสารให้เข้าใจตรงกันมีแนวทางปฏิบัติที่
ท้าย Edmonton Symptom Assessment System ชัดเจนขึ้นและทำาให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไปในรูป
(ESAS) ความพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย แบบเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการดูแลรักษา
มะเร็งระยะสุดท้ายต่อรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วย ระหว่างแพทย์แผนไทยและทีมวิชาชีพ และมีการให้
มะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยใช้ paired ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้ชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งมี
sample t-test เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ การวางแผนการดูแลรักษาล่วงหน้า ส่งผลให้คุณภาพ
ต่อรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย การดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยและทีมผู้ให้บริการมี
ด้วยการแพทย์แผนไทย ความพึงพอใจ รายละเอียดดังนี้
1. ด้านผู้ให้บริการ กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
ผลก�รศึกษ� ผู้ปฏิบัติงานจาก 4 สหวิชาชีพ จำานวน 55 คน เป็น
การนำารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะ แพทย์ 9 คน (ร้อยละ 16.70) เภสัชกร 9 คน (ร้อยละ
สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยไปทดลองใช้ประสบ 16.70) พยาบาลวิชาชีพ 13 คน (ร้อยละ 23.30) และ
ปัญหาในช่วงแรก คือ ผู้ปฏิบัติงานในทีมสหวิชาชีพ แพทย์แผนไทย 24 คน (ร้อยละ 43.30) เป็นเพศหญิง
ไม่คุ้นชินกับการดูแลรักษาด้วยการแพทย์แผนไทย 42 คน (ร้อยละ 76.40) เพศชายจำานวน 13 คน
ภาษาที่ใช้ในแนวทางปฏิบัติสื่อความหมายไม่ตรงกัน (ร้อยละ 23.60) อายุ 30 – 39 ปี (x = 33.4, S.D. = 1.54)
เนื่องจากไม่มีประสบการณ์ในการดูแลด้วยการแพทย์ ระยะเวลาการทำางานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษา
แผนไทยมาก่อน มีความสงสัย และข้อกังวลเกี่ยวกับ ผู้ป่วย 2 –9 ปี (x = 3.5, S.D. = 3.03) ระดับ การศึกษา
วิธีการรักษา กระบวนการรักษา และวิธีการประเมิน ปริญญาโท 20 คน (ร้อยละ 36.70) และปริญญาตรี 35
แพทย์แผนไทยเองก็ไม่คุ้นชินในการทำางานกับ คน (ร้อยละ 63.30) ตามลำาดับ
ผู้ปฏิบัติงานจากวิชาชีพอื่น และไม่เคยใช้แบบประเมิน 1.1. การประเมินประสิทธิผลการนำารูปแบบ
Palliative Performance Scale version 2 (PPS V2) ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นไปใช้พบว่า มีระดับความเป็นไป
และ Edmonton Symptom Assessment System ได้ในภาพรวมระดับมากและรูปแบบการดูแลรักษา
(ESAS) และยังมีปัญหาที่ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถเข้า สามารถแก้ปัญหาและเกิดผลดีต่อผู้รับบริการมีระดับ
ร่วมประชุมในการชี้แจงแนวทางการดำาเนินงานครบ ค่าเฉลี่ยความเป็นไปได้มากที่สุด (ตารางที่ 1)
ทุกครั้งทำาให้ขาดความมั่นใจในการปฏิบัติตามรูปแบบ 1.2 ความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพต่อ
การดูแล การจัดการกับอาการต่าง ๆ เกณฑ์การรับเข้า ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วย
และจำาหน่ายผู้ป่วยยังไม่ชัดเจน การประเมินปัญหา การแพทย์แผนไทย ก่อนและหลังพัฒนาระบบ พบ