Page 76 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 76

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                     ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563   Vol. 18  No. 3  September-December 2020




                                                                                นิพนธ์ต้นฉบับ



           ผลของการกักน้ำามันหญ้าขัดมอญต่อผู้ป่วยนิ้วล็อกระดับที่ 2



           อารีซัน วาแต , กมลวรรณ กลับดี , ศันสนีย์ สะแปอิง , สุปรียา วิสุทธิโช , ชวนชม ขุนเอียด ,
                                                                                     *,¶
                                                      *
                                      *
                                                                      *
                      *
           ศิริรัตน์ ศรีรักษา , ซารีนิง ยี่เต๊ะ , อรวรรณ ชัยภักดี , มารีนา สุหรง §
                                     †
                         *
                                                     ‡
           * สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ อำาเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง 93210
           † โรงพยาบาลควนขนุน อำาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110
           ‡ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลแหลมโตนด อำาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110
           § โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลทะเลน้อย อำาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110
            ผู้รับผิดชอบบทความ: chuanchom.kh@gmail.com
           ¶






                                                บทคัดย่อ
                   ผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกจะมีอาการฝืด เจ็บ และสะดุดเวลางอหรือเหยียดนิ้วมือ การกักน�้ามันช่วยหล่อลื่น ลดการฝืด
              ของข้อ ลดปวด และลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ แต่ยังไม่พบงานวิจัยที่เกี่ยวกับการกักน�้ามันในการรักษาโรคนิ้วล็อก
              การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการ
              วิจัยในมนุษย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับความปวดและองศาการงอของนิ้วมือในผู้ป่วยโรคนิ้วล็อก ก่อน
              และหลังได้รับการรักษาด้วยการกักน�้ามันหญ้าขัดมอญ และประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยหลังสิ้นสุดการรักษา
              กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกระยะที่ 2 ในอ�าเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง มีผู้
              ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 20 คน กลุ่มตัวอย่างจะได้รับการกักน�้ามันหญ้าขัดมอญสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน และ
              ติดตามอาการหลังสิ้นสุดการรักษาไปแล้ว 2 สัปดาห์ และ 1 เดือน ประเมินผลก่อนและหลังการทดลอง โดยวัดระดับ
              ความปวด และวัดองศาการงอของข้อนิ้วมือด้วย Goniometer จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างประเมินความพึงพอใจหลังสิ้น
              สุดการรักษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติ Paired Samples t-test ผลการศึกษาพบว่า การกักน�้ามัน
              หญ้าขัดมอญในผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกระดับที่ 2 สามารถลดอาการปวดของข้อนิ้วและเพิ่มองศาการงอนิ้วมือได้อย่างมีนัย
              ส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) จากการติดตามอาการหลังจากที่ผู้ป่วยหยุดกักน�้ามันท�าให้ทราบว่าผู้ป่วยมีอาการปวดเพิ่ม
              ขึ้นและงอนิ้วได้น้อยลง จึงสรุปได้ว่า การกักน�้ามันหญ้าขัดมอญสามารถน�ามาใช้ในการรักษาโรคนิ้วล็อกในระยะที่ 2
              ได้ โดยผู้ป่วยควรได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ไปกระตุ้นท�าให้อาการก�าเริบ
                                    ้
                                                  ้
                   คำ�สำ�คัญ:  นิ้วล็อก, กักน�ามัน, หญ้าขัดมอญ, น�ามันงา







           Received date 24/02/20; Revised date 19/10/20; Accepted 29/10/20


                                                   508
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81