Page 78 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 78

510 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ล็อกจะแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะแรกมีอาการปวดบริเวณ  ลมในอัฐิ ลสิกา นหารูและมังสังทำาให้เกิดอาการปวด
                                                                                           ้
           โคนนิ้วมือ ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้าจะมี  มีวิธีการรักษาอาการจากภายนอก เช่น การกักนำามัน
           อาการปวดมากขึ้นแต่ยังไม่มีอาการสะดุด ระยะสองมี  การพอกยา การนวด เป็นต้น การรักษาภายใน คือการ
           อาการสะดุดเวลาขยับนิ้ว กำาหรือเหยียดนิ้วมือ แต่ยัง  รับประทานยา และการให้คำาแนะนำาในการปฏิบัติตัว [6]
           สามารถเหยียดนิ้วได้เอง ระยะสามมีอาการติดล็อก      การรักษาโรคนิ้วล็อกด้วยศาสตร์แพทย์แผน

           กำามือแล้วเกิดอาการล็อก ไม่สามารถเหยียดนิ้วออก  ไทยโดยทั่วไปจะใช้การนวดและการประคบสมุนไพร
           ได้เอง ต้องเอามืออีกข้างหนึ่งมาช่วยแกะหรืออาจมี  โดยสถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผน
           อาการมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เองและระยะ  ไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ทำาการทดลองทาง

           สี่มีอาการอักเสบและบวม ไม่สามารถเหยียดนิ้วให้  คลินิก เพื่อศึกษาประสิทธิผลเบื้องต้นของการนวด
                [2]
           ตรงได้                                      แบบราชสำานักพร้อมประคบสมุนไพรในการรักษา
                แนวทางการรักษาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน   ผู้ป่วยนิ้วล็อก จากผลการศึกษาพบว่าการนวดไทย

           ระยะแรกแพทย์จะให้ผู้ป่วยพักการใช้มือที่มีอาการ   สามารถช่วยลดอาการนิ้วล็อก รวมถึงอาการปวดข้อ
           และให้ยาบรรเทาอาการปวดและอักเสบ หากอาการไม่  และความลำาบากในการเคลื่อนไหวข้อในผู้ป่วยได้

                                                                                             [7]
           ดีขึ้นแพทย์จะใช้วิธีฉีดยา Triamcinolone acetonide   โดยการนวดจะทำาให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นคลายตัว
           (ยาประเภท Steroid) เข้าไปบริเวณปลอกหุ้มเอ็น (A1   ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักกลัวการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
                               [3]
           Pulley) เพื่อลดการอักเสบ  แต่หากเป็นมากขึ้นแพทย์  และมักปล่อยจนอาการปวดมาก หรือบางรายแสวงหา
                     ้
           จะไม่ฉีดยาซำาหลาย ๆ ครั้ง เพราะอาจทำาให้เอ็นเปื่อย  ทางเลือกอื่นในการรักษา การแพทย์แผนไทยจึงเป็น
           หรือยุ่ยได้ ดังนั้นวิธีสุดท้ายที่แพทย์จะใช้คือ การผ่าตัด   ทางเลือกหนึ่งให้กับผู้ป่วย [8]
                                                                  ้
           มี 2 วิธี คือการผ่าตัดแบบเจาะรูผ่านผิวหนัง (Percu-     การกักนำามัน คือ การใช้สำาลีแผ่นที่ชุ่มไปด้วยยา
                                                                                           ้
           taneous trigger finger release) และการผ่าตัด   วางบนบริเวณที่ต้องการ ซึ่งสำาลีจะช่วยกักเก็บนำามัน
           แบบเปิด (Open skin trigger finger release)    อยู่กับที่ ทำาให้บริเวณที่มีอาการได้รับยาอย่างเต็มที่
                                               [4]
                ในทางการแพทย์แผนไทยโรคนิ้วล็อก คือ โรค  ต้องทำาตัวยาให้ร้อนก่อนนำามาใช้ ความร้อนจะช่วย
           นิ้วไกปืนหรือลมปลายปัตคาดนิ้วมือ เกิดจากการใช้  นำาพาตัวยาเข้าสู่บริเวณที่พอก กักทิ้งไว้ประมาณ 30
                                                                                ้
           งานมากทำาให้เส้นเอ็นโคนนิ้วอักเสบ เกิดจากความ  นาที สมุนไพรที่นิยมนำามาใช้ คือ นำามันงา (Sesamum
           เสื่อมของร่างกายทำาให้ไขมันใต้ฝ่ามือหายไปเกิด  indicum Linn.) และหญ้าขัดมอญ (Sida rhombi-
           พังผืดมายึดแทน สาเหตุการเกิดโรคนิ้วล็อกตาม  folia L.) จากการวิจัยพบว่าสารเซซามินในงาดำาช่วย
                         [5]
           แนวทางการแพทย์แผนไทยเมื่อวิเคราะห์ตามตรีธาตุ  ยับยั้งการเสื่อมสลายของกระดูกอ่อน ซึ่งเป็นสาเหตุ

           พบว่า วาตะกำาเริบ ปิตตะกำาเริบ และเสมหะหย่อน ตาม  ของโรคข้อเสื่อม อีกทั้งเซซามินมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
                                                                     [9]
           ธาตุสมุฏฐาน 42 ประการเกิดจากอัฐิพิการเกิดข้อเสื่อม  ของกระดูกและข้อ  หญ้าขัดมอญ ช่วยบำาบัดความ
                                  ้
           และข้อโปน ลสิกาพิการทำาให้นำาไขข้อแห้ง นหารูพิการ  ผิดปกติเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่เกิดจาก
           เกิดเส้นเอ็นยึด อักเสบหรือบาดเจ็บ มังสังพิการเกิด  วาตะกำาเริบ (อาการสำาคัญคือปวด) ช่วยบำารุงกระดูก
           กล้ามเนื้อปวดหรือตึง และการหดแคบของทางเดิน  และข้อ  จากการทบทวนงานวิจัยของพืชตระกูล
                                                             [6]
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83