Page 82 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 82

514 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                2.  กลุ่มตัวอย่างจะได้รับการรักษาด้วยการกัก     4.  ก่อนและหลังการกักนำ้ามันหญ้าขัดมอญใน
            ้
                                 ้
           นำามันหญ้าขัดมอญ โดยนำานำาสารสกัดหญ้าขัดมอญ  แต่ละครั้งกลุ่มตัวอย่างทุกคนจะได้รับการประเมิน
                               ้
           ปริมาณ 10 มิลลิลิตร กับนำามันงาดำาสกัดเย็นปริมาณ   ระดับความปวด และวัดองศาการงอของนิ้วมือด้วย
           5 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากัน นำาไปอุ่นด้วยกระทะไฟฟ้าที่  Goniometer
           อุณหภูมิ 70-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 นาที แล้วนำา     5.  หลังสิ้นสุดการรักษาจะให้กลุ่มตัวอย่าง

           สำาลีแผ่นขนาด 5 x 6 เซนติเมตรแช่ลงไปในส่วนผสม  ประเมินความพึงพอใจต่อการรักษาโรคนิ้วล็อกโดย
                                                             ้
           ที่เตรียมไว้ และพักสำาลีไว้ที่อุณหภูมิห้องประมาณ 1   การกักนำามันหญ้าขัดมอญ
           นาที ดังภาพที่ 2                                6.  กลุ่มตัวอย่างจะได้รับการรักษาสัปดาห์ละ

                3.  นำาสำาลีวางบนนิ้วมือที่มีอาการ ใช้ฟิล์มยืด  2 ครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน รวมทั้งหมดจำานวน 8 ครั้ง
           พันพาเลท (Stretch film) สีใสพันทับสำาสีรอบนิ้ว  แล้วทำาการติดตามอาการหลังสิ้นสุดการรักษาไป
           จำานวน 3 รอบ กักทิ้งไว้เป็นเวลา 30 นาที แล้วจึงเอา  แล้ว จำานวน 2 ครั้ง โดยเริ่มนับหลังจากการรักษาครั้ง

           ออก ดังภาพที่ 3                             สุดท้ายไปแล้ว 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์


                                                       ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล

                                                           เมื่อผู้วิจัยนำาข้อมูลที่ได้รับมาตรวจสอบความถูก
                                                       ต้องสมบูรณ์แล้ว นำามาลงรหัส แล้วประมวลผลข้อมูล

                                                       โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดย
                                                       ใช้สถิติ ดังนี้

                                                           1.  วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างข้อมูล
                                                       การติดตามอาการหลังสิ้นสุดการรักษา และข้อมูล
                                                       ความพึงพอใจของผู้ป่วยโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา

               ภาพที่ 2 ส�าลีที่ชุ่มไปด้วยน�้ามันหญ้าขัดมอญ  ได้แก่ จำานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                                                           2.  เปรียบเทียบระดับอาการปวด และองศา
                                                       การงอของนิ้วมือ ก่อนและหลังการรักษาโดยใช้สถิติ

                                                       Paired Samples t-test


                                                                    ผลก�รศึกษ�


                                                       ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสุขภ�พของผู้ป่วย


                                                           จากการศึกษา พบว่า ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่ม
                                                       ตัวอย่าง จำานวน 20 คน (ตารางที่ 1) จำาแนกได้ดังนี้
               ภาพที่ 3 การกักน�้ามันหญ้าขัดมอญที่นิ้วมือ     กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำานวน
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87