Page 84 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 84
516 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
หย่าร้าง จำานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 นิ้วชี้ จำานวน 5 คน คิดเป็น
ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่จบชั้นระดับประถม ร้อยละ 25 นิ้วกลาง จำานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25
ศึกษา จำานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมาจบ นิ้วนาง จำานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20
ชั้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) จำานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และ ส่วนที่ 2 ก�รเปรียบเทียบก่อนและหลังก�รรักษ�
ระดับปริญญาตรีหรืออนุปริญญา จำานวน 1 คน คิด ระดับความปวด
เป็นร้อยละ 5 ค่าเฉลี่ยระดับความปวดของข้อนิ้วในผู้ป่วยโรค
ประวัติการได้รับการรักษาของกลุ่มตัวอย่างส่วน นิ้วล็อกระดับที่ 2 ก่อนและหลังการได้รับการรักษา
ใหญ่ไม่เคยได้รับการรักษา จำานวน 14 คน คิดเป็น ครบ 1 เดือน เท่ากับ 6.25 ± 1.29 และ 3.30 ± 1.30
้
ร้อยละ 70 มีประวัติเคยได้รับการรักษาด้วยวิธีการ ตามลำาดับ หลังได้รับการกักนำามันหญ้าขัดมอญเป็น
นวด จำานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และมีประวัติเคย เวลา 1 เดือน พบว่าระดับความปวดลดลงอย่างมีนัย
ได้รับการรักษาด้วยวิธีการประคบสมุนไพร จำานวน 1 สำาคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ดังตารางที่ 2
คน คิดเป็นร้อยละ 5 จากการติดตามอาการหลังได้รับการรักษาครบ 1
ตำาแหน่งที่ปวดอยู่บริเวณมือข้างขวา จำานวน 13 เดือน จำานวน 2 ครั้ง พบว่า หลังจากสิ้นสุดการรักษา
คน คิดเป็นร้อยละ 65 และมือข้างซ้าย จำานวน 7 คน คิด ไปแล้ว 2 สัปดาห์ และ 1 เดือน ระดับความปวดเท่ากับ
เป็นร้อยละ 35 โดยนิ้วที่มีอาการ ได้แก่ นิ้วโป้ง จำานวน 3.80 ± 1.24 และ 4.40 ± 1.05 ตามลำาดับ ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความปวดของข้อนิ้วในผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกระดับที่ 2 ก่อนและหลังได้รับการรักษา
เป็นเวลา 1 เดือน
ระดับความปวด Mean S.D. p-value
ก่อนการรักษา 6.25 1.29 < 0.00*
หลังการรักษา 3.30 1.30
*ระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยระดับความปวดของข้อนิ้ว ก่อนการรักษา หลังการรักษา และการติดตามอาการหลังสิ้นสุดการ
รักษาไปแล้ว
ระดับความปวด Mean S.D.
ก่อนการรักษา 6.25 1.29
หลังการรักษาครบ 1 เดือน 3.30 1.30
หลังสิ้นสุดการรักษาไปแล้ว 2 สัปดาห์ 3.80 1.24
หลังสิ้นสุดการรักษาไปแล้ว 1 เดือน 4.40 1.05