Page 86 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 86
518 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
อภิปร�ยผล พิการ ลสิกาพิการ นหารูพิการ มังสังพิการได้ โดย
นำ้ามันงา มีสรรพคุณบำารุงกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และ
จากผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับ
ความเจ็บปวดและองศาการงอนิ้วมือ ก่อนและหลัง กระดูก อีกทั้งสารเซซามินในงาดำามีฤทธิ์ต้านการ
[17]
ได้การรักษาโดยการกักนำ้ามันหญ้าขัดมอญ จำานวน 8 อักเสบของกระดูกและข้อ หญ้าขัดมอญมีการใช้ใน
ครั้ง ในระยะเวลา 1 เดือน พบว่าระดับความปวดลด ทางการแพทย์พื้นบ้านทั้งในไทยและต่างประเทศใน
ลงและองศาการงอของข้อนิ้วเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ การลดปวด ลดบวม ลดการอักเสบ แก้ปวดข้อ
ทางสถิติ (p < 0.05) สอดคล้องกับผลการศึกษา สอดคล้องกับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของพืชตระกูล
ประสิทธิผลของการกักนำ้ามันหญ้าขัดมอญเพื่อลด Sida พบว่าสารสกัดจากใบที่ได้จากการสกัดด้วย
อาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคจับโปงแห้งเข่า หลังการกัก เอทิลอะซิเตทและบิวทานอล มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
นำ้ามันผู้เข้าร่วมวิจัยมีค่าเฉลี่ยระดับความปวดเข่าลด ระงับปวดได้ดีเทียบเท่ายาแผนปัจจุบัน diclofenac [10]
ลงและค่าเฉลี่ยพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อเข่าเพิ่มมาก จากการให้กลุ่มตัวอย่างสังเกตกิจวัตรประจำา
ขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติและมีความสามารถใน วันเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้มีอาการปวดข้อนิ้ว พบ
การใช้งานข้อได้มากขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p ว่าปัจจัยส่วนใหญ่ที่ส่งผลต่อการปวดคือ อาชีพ และ
< 0.05) อีกทั้งยังสอดคล้องกับการศึกษา พฤติกรรม เช่น ยกของหนักประกอบกับผู้ป่วยไม่มี
[16]
ประสิทธิผลของการนวดไทยแบบราชสำานักร่วมกับ การบริหารร่างกาย ไม่ได้บรรเทาอาการปวดด้วยวิธี
การกักนำ้ามันหญ้าขัดมอญในการรักษาโรคลมจับโปง ใด ๆ ส่งผลให้มีอาการปวดเรื้อรังมากขึ้นและมีการฝืด
แห้งเข่า พบว่าหลังการทดลองในกลุ่มทดลองมีระดับ สะดุดของนิ้วมือ ส่งผลต่อการงอนิ้วมือ และระดับการ
ความเจ็บปวดลดลง องศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าในท่า ปวด ภายหลังการกักน้ำามันหญ้าขัดมอญกลุ่มตัวอย่าง
งอเพิ่มขึ้น และในท่าเหยียดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง มีระดับการปวดลดลง และองศาการเคลื่อนไหวเพิ่ม
สถิติ (p < 0.05) แสดงให้เห็นว่าการกักนำ้ามันหญ้า ขึ้น ตลอดจนกลุ่มตัวอย่างมีอาการฝืด สะดุดน้อยลง
[15]
ขัดมอญสามารถลดอาการปวดบริเวณข้อได้ทั้งข้อนิ้ว จากการติดตามอาการหลังจากที่ผู้ป่วยหยุดกัก
และข้อเข่า อีกทั้งช่วยให้บริเวณข้อเคลื่อนไหวและ นำ้ามันไปแล้วเป็นเวลา 2 สัปดาห์ และ 1 เดือน พบว่า
ทำางานได้ดีขึ้น ค่าเฉลี่ยระดับความปวดมีแนวโน้มเพิ่ม (ตารางที่ 3)
การกักนำ้ามัน ตัวยาจะซึมซาบเข้าสู่บริเวณที่มีกัก โดยระดับความปวดอยู่ในระดับปานกลาง และค่า
นำ้ามันทำาให้บริเวณนั้นได้รับการหล่อลื่นของนำ้ามัน เฉลี่ยองศาการงอของนิ้วมือลดลง (ตารางที่ 5) เนื่อง
เพิ่มความชุ่มชื่น ความยืดหยุ่น ช่วยลดอาการติดขัด มาจากกลุ่มตัวอย่างไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ของข้อในบริเวณที่มีปัญหาได้ อีกทั้งความร้อนจากการ ประกอบกับการประกอบอาชีพ และการมีพฤติกรรม
กักนำ้าทำาให้หลอดเลือดขยาย ช่วยให้เลือดไหลเวียน อื่น ๆ ที่มาส่งเสริมให้มีอาการกำาเริบได้ ดังนั้นผู้ป่วย
ได้ดีขึ้น นอกจากนี้ สมุนไพรที่ใช้ในการกักนำ้ามัน ควรได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งหลีกเลี่ยง
ประกอบด้วย นำ้ามันงาและหญ้าขัดมอญต่างก็มี ปัจจัยเสี่ยงที่ไปกระตุ้นทำาให้อาการกำาเริบ นอกจากนี้
สรรพคุณที่ช่วยบำาบัดความผิดปกติเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ หากต้องการผลการรักษาที่ดีมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างควร
กระดูกและข้อ ซึ่งเป็นอาการที่เกิดจากวาตะกำาเริบ อัฐิ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการทำางาน