Page 91 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 91
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 523
ของผู้ป่วยในระยะยาว ซึ่งสอดคล้องกับผลการสำารวจ ขึ้นได้ ถ้าดูจากทิศทางการไหลเวียนของเส้นลมปราณ
การทำางานของพนักงานออฟฟิศในประเทศแถบยุโรป บริเวณหลังจะประกอบด้วย เส้นลมปราณเท้าไท่
พบว่า พนักงานส่วนใหญ่มีอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อ หยางกระเพาะปัสสาวะ เส้นลมปราณตู เส้นลมปราณ
และอาการปวดตามร่างกาย อาการที่พบมากที่สุด ต้าย และเส้นลมปราณเท้าเจวี๊ยะอินของไต หากเส้น
คือ อาการปวดหลัง รองลงมาคืออาการปวดบริเวณ ลมปราณหลัก เส้นลมปราณเอ็น (จินจิง) เส้นลมปราณ
คอ ไหล่ และศีรษะ นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุของโรค ลั่วติดขัดหรือขาดการหล่อเลี้ยงนับว่าเป็นกลไกการ
ต่าง ๆ ตามมาอีก เช่น โรคหัวใจ โรคกระเพาะอาหาร เกิดโรคที่สำาคัญอย่างหนึ่งของอาการปวดหลัง [1-2]
เบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นต้น การฝังเข็มเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ใช้ในการรักษา
การแพทย์แผนจีนมองว่า ปัจจัยที่ทำาให้เกิด อาการปวดหลัง ซึ่งได้รับการยอมรับจากองค์การ
อาการปวดมี 4 สาเหตุ ได้แก่ ลม (风), ความเย็น อนามัยโลก (World Health Organization, WHO)
(寒), ความชื้น (湿) และความรอน (热) กอให้เกิด แล้วว่าเป็นวิธีการรักษาและบรรเทาอาการปวดหลัง
้
่
เลือดคั่ง (瘀血) ทำาใหเกิดอาการปวดในตำาแหนงที่ ที่สามารถเห็นถึงประสิทธิผลของการรักษาได้อย่าง
่
้
เกี่ยวกับรางกายทั้งหา คือ ผิวหนัง เสนเอ็น เนื้อเยื่อ เด่นชัด และได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องทั้งในฝั่ง
้
่
้
โครงกระดูก และหลอดเลือด อาการทางคลินิกที่ เอเชียและยุโรป มีทฤษฎีใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย หนึ่ง
[1-2]
พบบ่อยตามแพทย์แผนปัจจุบัน วินิจฉัยว่าเกิดจาก ในนั้นคือ การฝังเข็มศีรษะ ข้อดีของการฝังเข็มศีรษะ
กล้ามเนื้อบริเวณหลังได้รับบาดเจ็บ ความผิดปกติ คือสามารถใช้รักษาอาการปวดหลังได้ เลือกจุดได้
ของกระดูกสันหลังเอว ความผิดปกติของหมอนรอง สะดวก ใช้จำานวนเข็มน้อย นอกจากจะรักษาอาการ
กระดูกสันหลัง หรือความผิดปกติที่มาจากอวัยวะ ปวดแล้ว ยังช่วยผ่อนคลายสมองทำาให้นอนหลับดี
ภายใน ส่วนหลักแพทย์แผนจีนกล่าวว่า อาการปวด และค่อนข้างปลอดภัย อีกทั้งยังเห็นผลการรักษาเร็ว
หลังมีได้หลายสาเหตุ อาทิ ปัจจัยก่อโรคภายนอกมา ซึ่งแตกต่างจากการฝังเข็มทั่วไป ทั้งในทางทฤษฎี ด้าน
กระทบ การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือการ เทคนิคการกระตุ้นเข็ม ตำาแหน่งจุดฝังเข็ม และผล
หักโหมทางเพศมากเกินไป การได้รับปัจจัยก่อโรค ตอบรับของคนไข้ [3-5]
ชนิดลมเย็นหรืออาศัยอยู่ในบริเวณที่มีความชื้นเป็น เนื่องจากการฝังเข็มศีรษะเป็นเทคนิคสมัยใหม่
ประจำา การใช้กล้ามเนื้อบริเวณหลังมากเกิน อาการ เกิดจากการคิดค้นของศาสตราจารย์ เจียวซุ่นฟา
เคล็ดขัดยอกหรือบาดเจ็บบริเวณหลังที่รักษาไม่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1966 เป็นการรักษาความผิดปกติ ของ
หายขาดทำาให้เส้นลมปราณ ชี่ เลือดบริเวณหลังติดขัด ระบบประสาทส่วนกลาง ด้วยระบบ Somatotopic
ไหลเวียนไม่สะดวกทำาให้เกิดอาการปวดได้เช่นกัน map (ความเชื่อมต่อกันจุดต่อจุดระหว่างตำาแหน่ง
ปัจจัยทางกายภาพที่มีมาแต่กำาเนิดไม่เพียงพอ หรือ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายกับตำาแหน่งที่แน่นอนในระบบ
ความเสื่อมในการสร้างสารจำาเป็นของร่างกายตาม ประสาทส่วนกลางสมองใหญ่) ของหนังศีรษะซึ่งเป็น
วัย ตามทฤษฎีการแพทย์จีน หลังส่วนล่างถือว่าเป็น ตัวส่งสัญญาณ โดยตรงกับระบบประสาทส่วนกลาง
ที่อยู่ของไต หากเส้นลมปราณบริเวณหลังขาดความ และระบบต่อมไร้ท่อ [5-8]
อบอุ่นขาดการหล่อเลี้ยงจะทำาให้เกิดอาการปวดหลัง การฝังเข็มศีรษะได้รับการยอมรับและประกาศ