Page 92 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 92
524 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
เป็นทางการในประเทศจีน เมื่อปี ค.ศ. 1971 ต่อมาได้ เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งในการลด
รับการยอมรับจากองค์การอนามัยโลกในปี ค.ศ. 1982 การใช้ยาและผลข้างเคียงจากยาแก้ปวดในผู้ป่วยปวด
[4]
เมื่อ 36 ปีก่อน ได้มีการศึกษาวิจัยทางคลินิกและ หลังส่วนล่าง
พัฒนาด้านการรักษาโรคต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอด
6-8 ปี นายแพทย์ Chunbo Cai ที่แผนกศัลยกรรม ระเบียบวิธีศึกษ�
ประสาท 11 แมสซาชูเซตส์ Lahey Clinic Medical
Center ใช้การฝังเข็มศีรษะด้วยการกระตุ้นด้วยมือ 1. ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง
เพื่อรักษาอาการปวดหลังและปวดคอจำานวน 20 ราย กำาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่คำานวณจาก
ที่ศูนย์กระดูกสันหลังที่โรงพยาบาล พบว่าสามารถ โปรแกรม n4Studies, the sample size calculation
บรรเทาความเจ็บปวดเกิดขึ้นภายใน 10 ถึง 20 นาที และแทนค่าสูตรสำาหรับการคำานวณ a randomized
ในการรักษา และระดับของการลดความเจ็บปวดอยู่ controlled trial for continuous dataขนาดกลุ่ม
ระหว่างร้อยละ 40 ถึง 100 ในตอนท้ายการรักษา 30 ตัวอย่างที่คำานวณได้ คือ 16 คนต่อกลุ่ม ขนาดตัวอย่าง
นาที นี้ได้จากการกำาหนด ค่าเฉลี่ยของระดับอาการปวด
[9]
ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดแคลนงานวิจัย หลังช่วงล่างรักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะโดยกระตุ้น
ที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของจุดฝังเข็มศีรษะกับ ด้วยมือ หรือค่า Mean (control) ที่ได้จากงานวิจัยที่
การรักษาอาการปวดหลังส่วนล่าง การศึกษาวิจัย ผ่านมาเท่ากับ 2และกำาหนดค่าการกระจายตัว (stan-
เรื่องการฝังเข็มศีรษะจึงเป็นประเด็นที่น่าศึกษาวิจัย dard deviation) เท่ากับ 0.5 ส่วนค่าเฉลี่ยของระดับ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อ อาการปวดหลังช่วงล่างรักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะโดย
ศึกษาประเมินผลและเปรียบเทียบประสิทธิผลการฝัง กระตุ้นด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า หรือค่า Mean (treat-
เข็มศีรษะรักษาอาการปวดหลังส่วนล่างด้วยเทคนิค ment) เท่ากับ 1.5, และค่าการกระจายตัว (standard
ดั้งเดิมคือกระตุ้นด้วยมือและเทคนิคการกระตุ้นด้วย deviation) เท่ากับ 0.5 โดยกำาหนดค่านัยสำาคัญ
ภาพที่ 1 ภาพระบบ Somatotopic map แสดงความเชื่อมโยงสมองส่วนหน้ากับอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย