Page 95 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 95

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  527




            Neuropathy Pain Scale (NPS) ได้แบ่งการนำาเสนอ     พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับการรักษาด้วยการ
            ผลการวิจัยออกเป็น 2 ตอน ดังนี้              ฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า จำานวน 20

                                                        คน มีความเจ็บปวดน้อยลงทุกครั้งที่รักษา โดยดูจาก
            ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้�ร่วมวิจัย    ค่าเฉลี่ย (Mean) ก่อนการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 6.15

                 ผลการวิจัยได้ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป  และหลังการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 4.05 มีความต่างกัน

            เกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่ม     อยู่ที่ 2.1 ค่าเฉลี่ยก่อนการรักษาครั้งที่สองเท่ากับ 4.55
            ตัวอย่าง ได้แก่ วิธีที่ใช้กระตุ้นเข็ม เพศ อายุ    และหลังการรักษาครั้งที่สองเท่ากับ 3.3 มีความต่าง
            อาชีพ ลักษณะงานที่ทำาในปัจจุบัน ความถี่ในการ  กันอยู่ที่ 1.25 และค่าเฉลี่ยก่อนการรักษาครั้งที่สาม

            ออกกำาลังกาย และลักษณะการออกกำาลังกาย       เท่ากับ 3.9 และหลังการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ 2.6 มี
            โดยนำาเสนอข้อมูลดังกล่าวเป็นจำานวนและร้อยละ   ความต่างกันอยู่ที่ 1.3 (ตารางที่ 2)
            โดยวิธีที่ 1 หมายถึงการกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า และ      หากเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (Mean) ของก่อน

            วิธีที่ 2 หมายถึงการกระตุ้นเข็มด้วยมือ รายงานตาม  การรักษาครั้งแรกและหลังการรักษาครั้งที่สาม จะมี
            ตารางที่ 1                                  ค่าเฉลี่ยต่างกันเท่ากับ 3.55 และมีค่าเบี่ยงเบนจากค่า

                                                        เฉลี่ย (Mean) เท่ากับ 1.95
            ตอนที่ 2 ผลก�รทดสอบท�งสถิติ                      ค่าความต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการรักษา

                 จากข้อมูลเบื้องต้นที่เก็บรวบรวมมาได้ สามารถ  ครั้งแรกเท่ากับ 2.1 ค่าความต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและ

            นำามาสรุปเป็นข้อมูลเชิงสถิติได้ 2 ส่วน ได้แก่   หลังการรักษาครั้งที่สองเท่ากับ 1.25 และ ค่าความต่าง
            ประสิทธิผลของการรักษาอาการปวดหลังส่วนล่างด้วย  ของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ

            การฝังเข็มศีรษะ และ การเปรียบเทียบประสิทธิผล  1.3 (ตารางที่ 3)
            ของการฝังเข็มศีรษะรักษาอาการปวดหลังส่วนล่าง      ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ผลของการรักษาสามครั้ง
            ด้วยเทคนิคการกระตุ้นเข็มด้วยมือและการกระตุ้น  นี้ มีค่า t-stat มากกว่า t-table ทุกตัว หมายความว่า

            เข็มด้วยไฟฟ้า โดยนำาเสนอข้อมูลดังกล่าวเป็นจำานวน  ความเจ็บปวดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ ซึ่งมีค่าความ
            และร้อยละ ซึ่งผลการวิจัยปรากฏตามตารางที่ 2-5  ผิดพลาด (Sig) น้อยกว่าร้อยละ 0.05
                 ค่าความเจ็บปวดก่อนการรักษา 1 ค่าความ        พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับการรักษาด้วยการ

            เจ็บปวดก่อนการรักษา 2 และ ค่าความเจ็บปวด    ฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือ จำานวน 20 คน
            ก่อนการรักษา 3 นั้นหมายถึง การวัดค่าความเจ็บ  มีความเจ็บปวดน้อยลงทุกครั้งที่รักษา โดยดูจากค่า
            ปวดของผู้เข้าร่วมวิจัยด้วยวิธี Neuropathy Pain   เฉลี่ย (Mean) ก่อนการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 6.00 และ

            Scale ก่อนการรักษาทั้ง 3 ครั้ง และ ค่าความเจ็บ  หลังการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 3.15 มีความต่างกันอยู่
            ปวดหลังการรักษา 1 ค่าความเจ็บปวดหลังการรักษา   ที่ 2.85 ค่าเฉลี่ยก่อนการรักษาครั้งที่สองเท่ากับ 4.5

            2 และค่าความเจ็บปวดหลังการรักษา 3 นั้นหมายถึง   และหลังการรักษาครั้งที่สองเท่ากับ 2.6 มีความต่างกัน
            การวัดค่าความเจ็บปวดของผู้เข้าร่วมวิจัย ด้วยวิธี   อยู่ที่ 1.9 และค่าเฉลี่ยก่อนการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ
            Neuropathy Pain Scale หลังการรักษาทั้ง 3 ครั้ง  2.65 และหลังการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ 1.6 มีความ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100