Page 99 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 99
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 531
ตารางที่ 6 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการรักษาระหว่างการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือและแบบ
กระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า
วิธีการ จำานวน (คน) ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
การรักษาครั้งที่ 1 1.00 20 2.10 1.21
2.00 20 2.85 1.63
การรักษาครั้งที่ 2 1.00 20 1.25 0.91
2.00 20 1.90 1.99
การรักษาครั้งที่ 3 1.00 20 1.30 1.03
2.00 20 1.05 1.05
การรักษารวม 1.00 20 3.55 1.50
2.00 20 4.40 2.62
ในตารางที่ 6 1.00 แทนการกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า 2.00 แทนการกระตุ้นด้วยมือ
อภิปร�ยผล ประจำาวันที่ไม่ถูกสุขลักษณะ จึงก่อให้เกิดอาการปวด
หลังส่วนล่าง ซึ่งในแต่ละรายจะมีระดับความเจ็บปวด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้�ร่วมวิจัย พบว่� ที่แตกต่างกัน จากการเก็บข้อมูลพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัย
จากการเก็บข้อมูลพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 40 มีระยะเวลาเจ็บปวดมากกว่า 9 เดือน
ร้อยละ 70 เป็นเพศหญิง และร้อยละ 30 เป็นเพศชาย ร้อยละ 28 มีระยะเวลาเจ็บปวดน้อยกว่า 3 เดือน
และช่วงอายุของผู้เข้าร่วมวิจัยผู้ให้ข้อมูลร้อยละ 53 ร้อยละ 25 มีระยะเวลาเจ็บปวด 3 ถึง 6 เดือน และ
อยู่ในช่วงอายุ 21–30 ปี รองลงมาร้อยละ 15 อยู่ในช่วง ร้อยละ 8 มีระยะเวลาเจ็บปวด 6 ถึง 9 เดือน
อายุ 51–60 ปี ร้อยละ 10 อยู่ในช่วงอายุ 41–50 ปี และ
ช่วงอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 8 อยู่ในช่วงอายุ 31–40 ตอนที่ 2 ผลก�รทดสอบท�งสถิติ
ปี และร้อยละ 5 อยู่ในช่วงอายุน้อยกว่า 20 ปี 2.1 ประสิทธิผลของการรักษาอาการปวดหลัง
จากการเก็บข้อมูลด้านลักษณะการทำางานใน ส่วนล่างด้วยการฝังเข็มศีรษะ
ปัจจุบัน ซึ่งเป็นปัจจัยในการปวดหลังส่วนล่าง พบ การเก็บข้อมูลในส่วนนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยร้อยละ 48 เป็นพนักงานพิมพ์ดีด/ ได้แก่ การฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้าและ
พิมพ์คอมพิวเตอร์ หรือมีงานที่ต้องนั่งอยู่กับที่นาน ๆ แบบกระตุ้นเข็มด้วยมือ
ร้อยละ 30 มีลักษณะการทำางานที่ต้องยืนหรือเดิน จากการเก็บข้อมูลที่แสดงร้อยละความแตกต่าง
นาน ๆ ร้อยละ 20 มีลักษณะการทำางานที่ต้องก้ม ๆ ของผลการทดสอบก่อนและหลังการรักษาด้วยการฝัง
เงย ๆ อยู่ตลอดเวลา และร้อยละ 3 ไม่มีพฤติกรรม เข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้าของผู้เข้าร่วมวิจัย
ดังกล่าวในขณะทำางานเลย 20 คน เป็นจำานวน 3 ครั้ง พบว่า ค่าความต่างของค่า
จากการทำางานหักโหมหรือมีพฤติกรรมในชีวิต เฉลี่ยก่อนและหลังการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 2.1 ค่า