Page 98 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 98
530 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ตารางที่ 4 ร้อยละของผลการทดสอบก่อนและหลังการรักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือของผู้เข้าร่วม
วิจัย 20 คน เป็นจำานวน 3 ครั้ง
ค่า จำานวน ค่าเบี่ยงเบน ค่าความ
เฉลี่ย (คน) มาตรฐาน คาดเคลื่อน
ครั้งที่ 1 ค่าความเจ็บปวดก่อนการรักษา 1 6.00 20 1.81 0.40
ค่าความเจ็บปวดหลังการรักษา 1 3.15 20 1.46 0.33
ครั้งที่ 2 ค่าความเจ็บปวดก่อนการรักษา 2 4.50 20 2.72 0.61
ค่าความเจ็บปวดหลังการรักษา 2 2.60 20 1.88 0.42
ครั้งที่ 3 ค่าความเจ็บปวดก่อนการรักษา 3 2.65 20 1.84 0.41
ค่าความเจ็บปวดหลังการรักษา 3 1.60 20 1.50 0.34
ตารางที่ 5 ร้อยละความแตกต่างของผลการทดสอบก่อนและหลังการรักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วย
มือของผู้เข้าร่วมวิจัย 20 คน เป็นจำานวน 3 ครั้ง
การเปรียบเทียบข้อมูลที่แตกต่างกัน
ค่า ค่า ค่า 95% ของช่วง ค่าการ จำานวน ค่า
เฉลี่ย เบี่ยงเบน ความ ค่าเชื่อมั่น แจกแจง ค่า ความ
มาตรฐาน คาดเคลื่อน ตำ่าสุด สูงสุด แบบที อิสระ ผิดพลาด
ครั้งที่ 1 ค่าความเจ็บปวดก่อน 2.85 1.63 0.36 2.09 3.61 7.81 19 0.00
การรักษา 1 - ค่าความ
เจ็บปวดหลังการรักษา 1
ครั้งที่ 2 ค่าความเจ็บปวดก่อน 1.90 1.99 0.45 0.97 2.83 4.25 19 0.00
การรักษา 2 - ค่าความ
เจ็บปวดหลังการรักษา 2
ครั้งที่ 3 ค่าความเจ็บปวดก่อน 1.05 1.05 0.23 0.56 1.54 4.47 19 0.00
การรักษา 3 - ค่าความ
เจ็บปวดหลังการรักษา 3
หมายเหตุ * คือ ค่าความผิดพลาด (Sig). ≤ 0.05
ครั้งนี้ มีค่า t-stat มากกว่า t-table ทุกตัว หมายความ ฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า จะมีค่าเฉลี่ย
ว่าความเจ็บปวดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ ซึ่งมีค่าความ ต่างกันเท่ากับ 3.55 และ ก่อนการรักษาครั้งแรกและ
ผิดพลาด (Sig) น้อยกว่าร้อยละ 0.05 หลังการรักษาครั้งที่สามของการรักษาด้วยการฝังเข็ม
พบว่า ค่าเฉลี่ย (Mean) ก่อนการรักษาครั้งแรก ศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือ จะมีค่าเฉลี่ยต่างกัน
และหลังการรักษาครั้งที่สามของการรักษาด้วยการ เท่ากับ 4.4 (ตารางที่ 6)