Page 94 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 94
526 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ผู้ป่วย 2 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการฝังเข็มศีรษะ
โดยแพทย์แผนจีนที่มีใบประกอบโรคศิลปะสาขาการ
แพทย์แผนจีน และเป็นแพทย์จีนผู้มีประสบการณ์
คนไข้แต่ละคนจะได้รับการรักษา 3 ครั้ง ประเมินผล
รวม 3 ครั้ง โดยเอาเกณฑ์การรักษาวันเว้นวันและเวลา
ทำาการทางราชการ ประเมินผล 2 วันหลังการรักษา
แต่ละครั้ง ก่อนและหลังการรักษาทุกครั้งรวม 6 ครั้ง
และนำาผลของการรักษาทั้งหมดมาเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อดำาเนินการต่อไป
ภาพที่ 3 ภาพแสดงตำาแหน่งการแบ่งเส้นเพื่อหาตำาแหน่ง แบบสอบถามความปวดแบบแมคกิลล์แบบย่อ
จุดฝังเข็ม
(Short-form McGill Pain Questionnaire) ถูก
ประเมินในอีก 2 วันหลังการรักษาทุกครั้ง รวม 3 ครั้ง
ด้วยแบบสอบถามความปวดแบบแมคกิลล์แบบย่อ
โดยผู้วิจัยซึ่งมิใช่ผู้ฝังเข็มและไม่ทราบว่าผู้เข้าร่วมวิจัย
อยู่กลุ่มใด
6. ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ผลการวิจัยเบื้องต้นโดยหาความ
สัมพันธ์ของปัจจัยจากประวัติการตรวจร่างกายและ
ผลสำาเร็จของการรักษา โดยไม่ได้ควบคุมตัวแปร
ภาพที่ 4 ภาพแสดงการแทงเข็มสองเล่ม อื่น ๆ เรื่องเพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ หมายถึง ผลจาก
แบบสอบถามความปวดแบบแมคกิลล์แบบย่อ ลดลง
แทง ตำาแหน่งที่ 1 และ 2 จากหน้าไปหลัง ทั้งซีกซ้าย อย่างน้อยร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับก่อนการรักษาโดย
และซีกขวา รวมเป็นจำานวนเข็ม 4 เล่ม ใช้สถิติ ANOVA
วิธีการแทงเข็ม จากด้านหน้าไปด้านหลังจากเส้น
ที่ 1 ไปเส้นที่ 2 ทำามุม 30 องศา (แทงชอน) ผลก�รศึกษ�
การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการฝังเข็ม
5. ก�รเก็บรวบรวมข้อมูล ศีรษะรักษาอาการปวดหลังส่วนล่างด้วยเทคนิคการ
ขั้นตอนการวิจัย เริ่มด้วย การสอบถามอาการ กระตุ้นเข็มด้วยมือและการกระตุ้นไฟฟ้า : การทดลอง
ปวดจากความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ป่วยตามตาราง แบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ใช้การประเมินข้อมูล
ดังกล่าว จะรวมคะแนนที่ประเมินได้ในแต่ละครั้ง ด้วยแบบสอบถามความปวดแบบแมคกิลล์แบบย่อ
และสรุปเป็นร้อยละเพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาของ (Short-form McGill Pain Questionnaire) และ