Page 100 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 100
532 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ความต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการรักษาครั้งที่ การวิจัยนี้ทำาการเก็บบันทึกการรักษาจากผู้
สองเท่ากับ 1.25 และ ค่าความต่างของค่าเฉลี่ยก่อน ให้ข้อมูลทั้ง 40 คน โดยใช้การประเมินข้อมูลด้วย
และหลังการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ 1.3 กล่าวได้ว่า แบบสอบถามความปวดแบบแมคกิลล์แบบย่อ
ผลการรักษาทั้งสามครั้ง มีค่า t-stat มากกว่า t-table (Short-form McGill Pain Questionnaire) และ
ทุกตัว หมายความว่าความเจ็บปวดลดลงอย่างมีนัย Neuropathy Pain Scale (NPS) และวิเคราะห์ข้อมูล
สำาคัญ ซึ่งมีค่าความผิดพลาด (Sig) น้อยกว่าร้อยละ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่า
0.05 เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
จากการเก็บข้อมูลที่แสดงร้อยละความแตกต่าง ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้
ของผลการทดสอบก่อนและหลังการรักษาด้วยการฝัง 1. ความแตกต่างของระดับความเจ็บปวด
เข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือของผู้เข้าร่วมวิจัย ระหว่างก่อนการรักษาและหลังการรักษาโดยการ
20 คน เป็นจำานวน 3 ครั้ง พบว่า ค่าความต่างของค่า กระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้าทุกครั้งมีผลเชิงบวก ได้ผลดีใน
เฉลี่ยก่อนและหลังการรักษาครั้งแรกเท่ากับ 2.85 ค่า การระงับปวดในเชิงสถิติ
ความต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการรักษาครั้งที่ 2. ความแตกต่างของระดับความเจ็บปวด
สองเท่ากับ 1.9 และ ค่าความต่างของค่าเฉลี่ยก่อน ระหว่างก่อนการรักษาและหลังการรักษาโดยการ
และหลังการรักษาครั้งที่สามเท่ากับ 1.05 กล่าวได้ กระตุ้นเข็มด้วยมือทุกครั้งมีผลเชิงบวก ได้ผลดีในการ
ว่าผลของการรักษาทั้งสามครั้งมีค่า t-stat มากกว่า ระงับปวดในเชิงสถิติ
t-table ทุกตัว หมายความว่าความเจ็บปวดลดลง 3. ความแตกต่างของระดับความเจ็บปวดใน
อย่างมีนัยสำาคัญ ซึ่งมีค่าความผิดพลาด (Sig) น้อย การรักษาสามครั้ง ของการกระตุ้นเข็มทั้งสองวิธีไม่
กว่าร้อยละ 0.05 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ
2.2 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษา โดยทั่วไปการฝังเข็มศีรษะ มักเน้นการใช้เทคนิค
อาการปวดหลังส่วนล่างด้วยการฝังเข็มศีรษะแบบ การกระตุ้นเข็มด้วยมือโดยการฝึกฝนเทคนิคการ
กระตุ้นเข็มด้วยมือและแบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า กระตุ้นเข็มโดยการหมุนปั่นเข็มให้ได้ความถี่สูงและ
จากการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดของการวิจัย พบ สามารถกำาหนดความแรงของการกระตุ้นเข็มได้ตาม
ว่าการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการรักษา สภาพผู้ป่วย และเชื่อว่าการกระตุ้นเข็มศีรษะด้วย
ระหว่างการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือและ มือมีผลการรักษาที่ดีกว่าการกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ใน
แบบกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า ค่าเฉลี่ย (Mean) ก่อน ทางปฏิบัติถ้ามีผู้ป่วยหลายคน แพทย์ต้องใช้เวลาใน
การรักษาครั้งแรกและหลังการรักษาครั้งที่สามของ การจัดการที่ยุ่งยาก ส่วนการใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
การรักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วย ความถี่ 200-300 ครั้งต่อนาทีจะง่ายในการจัดการ แต่
ไฟฟ้า จะมีค่าเฉลี่ยต่างกันเท่ากับ 3.55 และก่อนการ เป็นการกระตุ้นเข็มที่เหมือนกันหมด ไม่ได้แยกแยะ
รักษาครั้งแรกและหลังการรักษาครั้งที่สามของการ สภาพร่างกายผู้ป่วย ผลการทดลองพบว่าแม้ผลการ
รักษาด้วยการฝังเข็มศีรษะแบบกระตุ้นเข็มด้วยมือ รักษาด้วยการกระตุ้นเข็มด้วยมือจะดีกว่าอย่างไม่มี
จะมีค่าเฉลี่ยต่างกันเท่ากับ 4.4 ตามลำาดับ นัยสำาคัญ แต่เป็นแนวทางที่บ่งชี้ว่าถ้าการกระตุ้นเข็ม