Page 105 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 105
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 537
ประชาชนโดยผ่านการอพยพของคนจีนเข้ามาในแดน ระหว่างเสื้อกับกระโปรงหรือกางเกง เสื้อผ้าที่สวมใส่
[2]
สุวรรณภูมิมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย โดยวิธีการฝัง ไม่ควรแน่นเกินไปเพื่อสะดวกในการถลกพับแขนเสื้อ
เข็มนั้นเริ่มจากการตรวจวินิจฉัยอาการโรคเรียบร้อย และปลายขากางเกง ในกรณีที่ต้องปักเข็มบริเวณไหล่
แล้ว แพทย์จะใช้เข็มที่ทำาด้วยโลหะไม่เป็นสนิมที่มี หรือต้นคอก็ควรเลือกสวมเสื้อที่มีคอกว้าง ส่วนผู้ป่วย
ขนาดเล็ก ความยาวประมาณ 1-10 เซนติเมตร ปัก ที่เป็นโรคอัมพาต ควรสวมเสื้อแขนกุดและกางเกงขา
[3]
ทะลุผิวหนังตรงจุดฝังเข็มตามแนวเส้นลมปราณ สั้น จะทำาให้แพทย์ปักเข็มได้สะดวกขึ้น [7]
ส่วนหนึ่งจะรมยา (moxibustion) หรือกระตุ้นไฟฟ้า สืบเนื่องจากสภาพการดำาเนินชีวิตประจำาวัน
ร่วมกับการฝังเข็มด้วย ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World เปลี่ยนไป การทำางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์มากขึ้น
Health Organization: WHO) ได้ประกาศโดย ทำาให้ปัจจุบันมีผู้ป่วยเข้ารับการรักษากลุ่มอาการปวด
พิจารณาจากผลการวิจัยทางคลินิกที่มีกลุ่มควบคุม เพิ่มมากขึ้นตามลำาดับ ซึ่งอาการปวดเป็นอาการที่ใช้
(Controlled clinical trials) ว่าการฝังเข็มสามารถ การฝังเข็มเป็นวิธีการรักษามากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการ
ให้ประสิทธิผลการรักษาในอาการ 28 อาการ โดยส่วน ปวดคอ ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งสอดคล้องกับสถิติ
[8]
ใหญ่เป็นผลการรักษาเพื่อระงับอาการเจ็บปวด เช่น ผู้มารับบริการคลินิกแพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์
ปวดคอ ปวดเข่า ปวดหลัง ปวดประจำาเดือน เป็นต้น กาญจนาภิเษก พบว่ากลุ่มโรคที่พบบ่อย คือ 1) โรค
[4]
และในระยะสิบปีที่ผ่านมา มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ปวดกล้ามเนื้อ/เอ็นอักเสบ 2) โรคหลอดเลือดสมอง
การค้นหาหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มาอธิบายกลไก 3) โรคปวดหลัง/กระดูกหลังเสื่อม 4) โรคปวดเข่า/
การระงับความรู้สึกเจ็บปวดจากการฝังเข็มที่ตีพิมพ์ ข้อเข่าเสื่อม 5) โรคอ้วน ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่จะปักเข็ม
จำานวนมากกว่า 1,000 ฉบับ ซึ่งพบหลักฐานสนับสนุน บริเวณ บ่า ไหล่ สะบัก หลัง สะโพก หน้าท้อง และเข่า
ว่า การฝังเข็มสามารถระงับความรู้สึกเจ็บปวดได้ โดย โดยใช้เวลาในการปักเข็ม 20-30 นาที โดยก่อนมาฝัง
ออกฤทธิ์ระงับปวดได้ในทุกขั้นตอนของกลไกการรับ เข็มทุกครั้ง ผู้ป่วยต้องเตรียมตัว พักผ่อนให้เพียงพอ
ความรู้สึกเจ็บปวดทั้งในระบบประสาทส่วนกลาง และ ผ่อนคลาย ไม่วิตกกังวล สวมใส่เสื้อผ้าที่แยกส่วนเสื้อ
[5]
ส่วนปลาย นอกจากนี้ ทฤษฎีการแพทย์ทางเลือก กับกางเกงและกระโปรงออกจากกัน ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะ
แผนตะวันออกยังกล่าวว่า ลมปราณ (ชี่) เป็นพลังที่ สวมใส่ชุดแยกส่วนกัน แต่ในทางปฏิบัติพบว่าชุดที่
อยู่เบื้องหลังของชีวิต เป็นพลังของธรรมชาติ และ ผู้ป่วยสวมใส่มานั้น ไม่สะดวกในการปักเข็มของ
เป็นพื้นฐานของทุกสิ่ง การที่พลังชี่ดี จะทำาให้สุขภาพ แพทย์ ผู้ป่วยจึงต้องเปลี่ยนเป็นชุดที่ทางโรงพยาบาล
แข็งแรง การใช้เข็มบาง ๆ ปักที่จุดฝังเข็มตามแนวเส้น จัดไว้ให้ ซึ่งเป็นชุดผู้ป่วยของโรงพยาบาลทั่วไป โดย
ลมปราณนั้น จะทำาให้เกิดการสร้างพลังงาน การกระ เป็นชุดที่เปิดด้านหน้า มีเชือกสำาหรับผูก และเป็น
ตุ้นจุดฝังเข็มทำาให้เกิดการนำาและผลิตกระแสไฟฟ้า กางเกงขายาว ปัญหาที่พบคือ ชุดที่ทางโรงพยาบาลจัด
[6]
ทำาให้ลมปราณเดินสะดวก ทั้งนี้ การเตรียมตัวเพื่อ ไว้ให้นั้นมีขนาดใหญ่ แขนเสื้อและขากางเกงจึงค่อน
ให้สะดวกสำาหรับการฝังเข็ม คือ การสวมใส่เสื้อผ้าให้ ข้างยาวปิดตำาแหน่งที่แพทย์ปักเข็ม ทำาให้แพทย์ปัก
เหมาะสม เพราะตำาแหน่งจุดปักเข็มบางครั้งอยู่บริเวณ เข็มไม่สะดวก เจ้าหน้าที่จะต้องคอยพับแขนเสื้อและ
ใต้ร่มผ้า ผู้ป่วยจึงควรสวมใส่เสื้อผ้าที่เป็นชุดแยกส่วน ขากางเกงให้เห็นบริเวณที่แพทย์ต้องการฝังเข็ม บาง