Page 109 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 109
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 541
ตารางที่ 1 ข้อมูลการสัมภาษณ์ ชุดที่เหมาะสมสำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม (เสื้อ)
ประเด็นการสัมภาษณ์ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
1. ด้านประโยชน์ใช้สอย
- ตรงตามเป้าหมาย - เสื้อเดิมเชือกผูกมากไป - ตีนตุ๊กแกยาวหน่อย - ตีนตุ๊กแกมากเกินไป ใช้ยาก
- แนะนำาเปิดคอ บ่า ไหล่ ไม่ต้องหลายอัน ใส่ยุ่งยาก
หลัง ต้นแขน - เสนอคอกว้าง แบบเสื้อกล้าม/
เสื้อคอกระเช้า
- เสนอไม่มีตีนตุ๊กแก
2. ด้านความสวยงาม
- รูปทรง ปรับคอ บ่า ไหล่
- ขนาด เสื้อเดิมใหญ่เกินไป ขอ Size ขนาด S, M, L ขอตัวใหญ่
- สี ขอสีฟ้า /แดง เสนอสีเขียว สีพื้น
- ความสวยงาม อยากให้มีลวดลาย
3. ด้านความสะดวกสบาย
- ง่ายต่อการสวมใส่และการ เสื้อเดิมแขนแคบ เสนอ รูปแบบเสื้อง่ายต่อการฝังเข็ม ตีนตุ๊กแกอาจจะเจ็บเวลา
ถอด (ผู้ป่วย) แขนกุด เปิดคอ บ่า ไหล่ และง่ายต่อเจ้าหน้าที่ในการ ผู้ป่วยนอนหงาย
- ง่ายต่อการฝังเข็ม (แพทย์) สะบัก และฝังเข็มได้ทั้ง เตรียม แต่ควรปรับรูปแบบ
- ง่ายต่อการเตรียม (เจ้าหน้าที่) ด้านหน้าและด้านหลัง ให้ง่ายต่อการสวมใส่
ง่ายขึ้น
4. ด้านความปลอดภัย
- ปลอดภัยต่อการฝังเข็ม เสื้อเดิม สีเสื้อกลมกลืน
กับสีเข็ม แขนเสื้อบังเข็ม
เสนอให้เปิดบริเวณแขน
5. ด้านความเป็นส่วนตัว
ของผู้ป่วย
- การเปิดเผยร่างกาย เสื้อเดิมเวลาปักเข็มด้าน เสื้อเหมาะกับผู้ป่วยที่ต้อง
หลังจะต้องให้ผู้ป่วยใส่เสื้อ เปิดเฉพาะบางส่วนของ
จากด้านหน้าที่มีเชือกผูก ร่ายกาย
ไปด้านหลังของผู้ป่วย
ทำาให้รู้สึกโป๊
ราย จากจำานวน 119 ราย คิดเป็นร้อยละ 38.66 สรุป เสื้อเว้า และกว้างเกินไป ทำาให้รู้สึกโป๊ ควรเป็นแขนสั้น
ได้ ดังนี้ ลักษณะผ้าให้ทับซ้อนกัน ด้านหน้าควรเป็นกระดุม/ซิป
1) เสื้อเหมาะสำาหรับการฝังเข็ม โดยเฉพาะฝัง เนื้อผ้าควรจะหนากว่านี้ เชือกที่ผูกมีความสับสน อาจ
เข็มบริเวณ คอ บ่า ไหล่ เพราะไม่ต้องกังวลว่าแขน ทำาสีเชือกผูกให้จับคู่กัน เพื่อจะได้ผูกง่าย ควรมีวิธีการ
เสื้อที่พับขึ้นไปจะตกลงมาโดนเข็มเหมือนชุดเดิม แขน สอนการใส่/ถอดเสื้อ และควรมีขนาด S, M, L ตาม