Page 113 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 113
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 545
ตารางที่ 4 ระดับความเหมาะสมของกางเกงฝังเข็มจำาแนกตามรายด้านและโดยภาพรวม (N = 71)
รายการประเมินกางเกงที่เหมาะสม
ด้านที่ x SD ระดับ
สำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม (ชุดต้นแบบ 3)
1 ด้านประโยชน์ใช้สอย 4.48 0.71 มาก
2 ด้านความสวยงาม 4.30 0.64 มาก
3 ด้านความสะดวกสบาย 4.70 0.55 มาก
4 ด้านความปลอดภัย 4.56 0.63 มาก
5 ด้านความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย 4.35 0.76 มาก
6 ด้านความพึงพอใจโดยรวม 4.51 0.61 มาก
ที่เหมาะสมสำาหรับผู้ป่วยฝังเข็ม ขั้นตอนออกแบบและ การประเมินระดับความเหมาะสมของชุดที่
พัฒนาชุดที่เหมาะสมสำาหรับฝังเข็ม โดยการสัมภาษณ์ เหมาะสมสำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม (ชุดต้นแบบ 3)
แพทย์จำานวน 9 คน เจ้าหน้าที่ช่วยแพทย์ 9 คน และ จากการเก็บข้อมูลแบบสอบถามผู้รับบริการจำานวน
ผู้ป่วยจำานวน 9 คน เกี่ยวกับข้อมูลเสื้อและกางเกง 119 คน ตามแนวคิดการออกแบบและแนวคิดเกี่ยว
ชุดเดิมที่ผู้รับบริการใช้ขณะฝังเข็ม และความต้องการ กับความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย ดังนี้ 1) ด้านประโยชน์
รูปแบบเสื้อและกางเกงชุดใหม่ ในประเด็น 1) ด้าน ใช้สอย 2) ด้านความสวยงาม 3) ด้านความสะดวก
ประโยชน์ใช้สอย 2) ด้านความสวยงาม 3) ด้านความ สบาย 4) ด้านความปลอดภัย 5) ด้านความเป็นส่วน
สะดวกสบาย 4) ด้านความปลอดภัย 5) ด้านความ ตัวของผู้ป่วย ได้ข้อมูลเป็นเสื้อจำานวน 90 คน และ
เป็นส่วนตัวของผู้ป่วย จำานวน 3 รอบ เพื่อนำาผลการ ข้อมูลกางเกง จำานวน 71 คน เนื่องจากผู้รับบริการมี
วิเคราะห์มาพัฒนาเป็นชุดต้นแบบ 3 หลังจากนั้น อาการเฉพาะส่วนของร่างกาย จึงไม่ได้เปลี่ยนทั้งเสื้อ
ทำาการประเมินชุดต้นแบบ 3 กับผู้รับบริการคลินิก และกางเกงในการมารับบริการ จากผลการศึกษาพบ
แพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ที่มีอายุ ว่า เสื้อมีความเหมาะสมสำาหรับการฝังเข็ม โดยเฉพาะ
18 ปีขึ้นไป จำานวน 119 คน ผลการศึกษาแสดงให้เห็น การฝังเข็มบริเวณต้น คอ บ่า ไหล่ โดยทุกด้านอยู่ใน
ว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุ 41-50 ระดับมาก ทั้งนี้ ด้านความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วยมีค่า
ปี การศึกษาปริญญาตรี มาด้วยอาการ ปวดต้นคอ เฉลี่ยน้อยกว่าด้านอื่น ๆ เนื่องจากเสื้อไม่มีแขน และ
บ่า ไหล่ สอดคล้องกับทัศนีย์ ฮาซาไนน์ และบัณฑิตย์ เว้ากว้างเกินไป โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้รับ
พรมเคียมอ่อน ว่าสภาพการดำาเนินชีวิตประจำาวัน บริการว่าเสื้อโป๊เกินไป เสนอให้มีแขน และใช้เทคนิค
[14]
เปลี่ยนไป การทำางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์มากขึ้น ผ้าทับซ้อนกัน ด้านหน้าตัวเสื้อมีเชือกผูก บางครั้งผู้รับ
ทำาให้ปัจจุบันที่เข้ารับการรักษากลุ่มอาการปวดเพิ่ม บริการสับสนกับเชือกที่ผูก เสนอให้ทำาสี จับคู่เชือกที่
มากขึ้นตามลำาดับ ซึ่งอาการปวดเป็นอาการที่ใช้การฝัง ผูก หรือปรับเป็นกระดุม/ซิป แทน ส่วนกางเกงรูปแบบ
เข็มเป็นวิธีการรักษามากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการปวดคอ เหมาะสมสำาหรับการฝังเข็ม โดยมีค่าเฉลี่ยทุกด้านอยู่
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ในระดับมาก สามารถฝังเข็มได้ทั้งสะโพกด้านข้างและ