Page 118 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 118

550 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                                                                                         [4-5]
           ธรรมชาติ รวมถึงนโยบายของภาครัฐที่ส่งเสริมผู้มี  ท้องเสีย ขับเสมหะ ตำาพอก แก้ปวดเคล็ดบวม  สาร
           ส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมสมุนไพร ผ่านแผน   สำาคัญในส่วนของผลพบว่าประกอบด้วย rosmarinic

           แม่บทว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ปี 2560-2564   acids และ isorinic acid [6]
           ตามร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการ      การศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของปอบิดพบว่าสาร
           พัฒนาในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มีการสนับสนุน  สกัดหยาบส่วนผลด้วยเอทานอลสามารถทำาให้หนูขาว

           การใช้สมุนไพรควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน   ที่ถูกกระตุ้นด้วย Streptozotocin ให้มีภาวะไขมันใน
                                                                                       [7]
           ทั้งนี้ประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน   เลือดสูง (Hyperlipidemia) สู่ระดับปกติได้ สารกลุ่ม
                                     ่
           สมุนไพรจะดึงเงินเข้าประเทศไม่ตำากว่า 30,000 ล้าน  saponins และ sapogenin ซึ่งเป็นสารสำาคัญในราก
           บาท  การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรจึงเป็นโอกาส   ปอบิดสามารถเพิ่มการสร้างไกลโคเจนและเพิ่มการ
              [1]
                                                             ้
                                                                                          [8]
           และความท้าทายที่สำาคัญในการให้บริการสาธารณสุข  ขนส่งนำาตาลเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อของหนูได้ การ
           ในอนาคต                                     ทดสอบพิษเฉียบพลันของสารสกัดรากปอบิดด้วย
                                                        ้
                ปอบิดมีชื่อวิทยาศาสตร์ Helicteres isora L.   นำาพบว่ามีค่า LD  มากกว่า 2,000 mg/ml และผล
                                                                    50
                                                                                          ้
                                 [2]
           เป็นพืชในวงศ์ Malvaceae  มีชื่อเรียกตามท้องถิ่น   ทดสอบพิษกึ่งเฉียบพลันพบว่าทำาให้หนูแรทนำาหนัก
           เช่น มะปิด ปอทับ ช้อ ขี้อ้นใหญ่  เป็นพืชขึ้นตามป่า  ลดลง ทำาให้ eosinophil และ serum creatinine เพิ่ม
                                     [3]
           เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ชายป่าดิบชื้น สอง  ขึ้น  การศึกษาฤทธิ์ในการเป็นยาต้านมะเร็งของสาร
                                                         [9]
           ข้างทาง รวมถึงกรุงเทพมหานคร และพบได้ทั่วไปทั้งใน  สกัดผลปอบิด โดยศึกษาสารสกัดผลปอบิดที่สกัด

           เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน และอินเดีย เป็นไม้พุ่ม   ด้วย ethanol ต่อการตายของเซลล์มะเร็ง 2 ชนิด ที่
           สูง 1-5 ม. มีขนรูปดาวละเอียดหรือขนสั้นนุ่มตามกิ่ง   มี p53 ต่างกันคือ เซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) และ

           หูใบ แผ่นใบด้านล่าง กลีบเลี้ยงด้านนอก และผล หู  เซลล์มะเร็งลำาไส้ใหญ่ (HT-29) ผลจากการศึกษา
           ใบรูปเส้นด้าย ยาวได้ถึง 1 ซม. ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง   พบว่า เซลล์มะเร็งเต้านม (wild type p53) มีความ
           ยาว 8-20 ซม. ปลายจักเป็นแฉก ปลายแฉกแหลมยาว  ไวต่อสารสกัดผลปอบิดมากกว่าเซลล์มะเร็งลำาไส้

           คล้ายหาง โคนกลมหรือรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อย  (mutated p53) แต่กับเซลล์เต้านมปกติพบว่าสาร
                                                                        ่
           สองชั้น เส้นโคนใบ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อ  สกัดมีความเป็นพิษตำามาก จึงสรุปได้ว่า สารสกัด
           ดอกออกสั้น ๆ 2-3 ช่อ เรียงชิดกันตามซอกใบ โค้ง  จากผลปอบิดมีผลความเป็นพิษเฉพาะต่อเซลล์มะเร็ง

           ด้านเดียว หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1.5-2 ซม. ดอกสีส้ม  มากกว่าเซลล์ปกติ ซึ่งการตอบสนองที่แตกต่างกันนี้น่า
           หรืออมแดง โคนด้านในมีจุดดำาละเอียด กลีบบน 2   จะสัมพันธ์กับความแตกต่างกันใน cytosolic redox
           กลีบ ขนาดใหญ่ รูปใบหอกกลับ ยาว 2.5-3 ซม. กลีบ  status ที่เกิดจาก antioxidants ในสารสกัด  การ
                                                                                         [10]
                                                                                    ้
           พับงอกลับ ยาว 1.2-1.5 ซม. รังไข่บิดเวียน มีตุ่มเป็น  ศึกษาฤทธิ์และกลไกในการลดระดับนำาตาลในเลือด
           ขน ปลายก้านเกสรเพศเมียมีจุดสีดำาละเอียด ยอด  และลดระดับไขมันในเลือดของสารสกัดจากรากปอ

           เกสรแฉกตื้น ๆ 5 แฉก ผลรูปทรงกระบอก บิดเป็น  บิด โดยทำาการศึกษาในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำาให้เป็น
           เกลียว ปลายแหลม ผลแก่สีดำา ข้อมูลตำารายาไทยใช้  เบาหวานด้วยสาร alloxan และทดสอบกับสารสกัด
           เปลือกต้นและรากบำารุงธาตุ ผลใช้แก้บิด แก้ปวดเบ่ง   จากรากปอบิดที่สกัดด้วยตัวทำาละลาย 2 ชนิด คือ
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123