Page 121 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 121

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  553




            ทดสอบโดยสังเกตรอบ ๆ blank paper disc ที่จุ่ม   และเทลง minimal glucose agar plate และบ่มที่
            0.1% crystal violet ถ้าเป็นเชื้อที่มี rfa จะเห็นโซนใส   อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง ส่วน

            (clear zone) คือ ไม่มีแบคทีเรียเจริญอยู่ โดยวัดขนาด  การทดสอบ E. coli WP2 จะเติม tryptophan ลง
            เส้นผ่านศูนย์กลางได้ประมาณ 12-14 มิลลิเมตร ส่วน  ไปแทน histidine/biotin เมื่อครบเวลา นำาเพลทมา
            ผลการทดสอบ R-factor สังเกตเห็นการเจริญเติบโต  ส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ inverted microscope

            ของแบคทีเรียรอบ ๆ paper disc ที่จุ่ม 8 มิลลิกรัม/  ว่าเกิด killing effect บน background lawn หรือ
            มิลลิลิตร ampicillin เพราะมี R-factor ซึ่งทำาให้  ไม่ นำาเพลทมานับจำานวน revertant colony การแปล
            แบคทีเรียต้านทาน ampicillin ได้ ซึ่งสายพันธุ์ TA98   ผลคือ ถ้าสารที่ทดสอบมีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์จะพบ

            และ TA100 เชื้อจะต้าน ampicillin ส่วนสายพันธุ์อื่น  ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารสมุนไพรที่ทดสอบ
            จะเกิด clear zone รอบ ๆ disc ampicillin     กับจำานวน revertant colony เพิ่มขึ้นด้วย และพบ
                 การตรวจความผิดปกติ uvr B mutation โดย  ว่ามีอย่างน้อย 2 ความเข้มข้นที่ให้จำานวนแบคทีเรีย

            ใช้ mitomycin                               กลายพันธุ์มีจำานวนมากกว่าจำานวนที่กลายพันธุ์ตาม
                 จุ่ม Blank paper disc ใน mitomycin ที่  ธรรมชาติ (negative control) ในขณะเดียวกันต้องมี

            ความเข้มข้น 0.2 ไมโครกรัม/disc วางลงใน MGA   อย่างน้อยที่ความเข้มข้นจุดหนึ่ง สามารถทำาให้จำานวน
            plate ที่ผสม histidine และ biotin สำาหรับเชื้อ    แบคทีเรียกลายพันธุ์สูงเกิน 2 เท่า ของการกลายพันธุ์
            S. typhimurium และผสม tryptophan สำาหรับเชื้อ   ตามธรรมชาติ จึงนับว่าสารที่นำามาทดสอบนี้เป็นสาร

            E. coli ดูผลการทดสอบโดยสังเกตรอบ ๆ paper    ก่อกลายพันธุ์
            disc จะเห็นโซนใส (clear zone)
                                                                      ผลก�รศึกษ�
            ขั้นตอนก�รทดสอบฤทธิ์ก่อกล�ยพันธุ์ในเชื้อ

            แบคทีเรียของส�รสกัดผลปอบิด (อ้างอิงวิธีจาก   ผลก�รสกัดผลปอบิด
            OECD TG471, 1997) [13]                           สารสกัดผลปอบิดด้วยนำา ได้สารสกัดผงละ
                                                                                ้
                                                               ้
                 ในการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ใช้วิธี plate   เอียดสีนำาตาลเข้ม (yield = 14.32%) การควบคุม
            incorporation method โดยนำาสารสกัดปอบิด ที่  คุณภาพทางเคมี ผลการทดลองพบว่า สารสกัดผล
                                                                  ้
            ระดับ 5 ความเข้มข้น 625, 1,250, 2,500, 5,000 และ   ปอบิดด้วยนำา มีค่าปริมาณเถ้ารวม 20.11 ± 0.19%
            10,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ผสมกับเชื้อที่ใช้ทดสอบ   ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด 0.06 ± 0.02% และ
            0.1 มิลลิลิตร (เชื้อที่ใช้คือ S. typhimurium TA98,   ปริมาณความชื้น 1.60 ± 0.47%

            TA100, TA1535, TA1537 และ E. coli WP2 บ่ม        สารสกัดผลปอบิดด้วย 95% เอทานอล ได้สาร
                                                                                  ้
            ไว้ 8-12 ชั่วโมง การทดลองอยู่ในระบบไม่มีเอนไซม์  สกัดในรูปแบบเหนียวและหนืดสีนำาตาลเข้ม (yield =
            กระตุ้น ทำาการเติม 0.1M NaPO -KCl buffer    1.94%) การควบคุมคุณภาพทางเคมี ผลการทดลอง
                                         4
            ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร และสารสกัดสมุนไพรทั้ง 5   พบว่า สารสกัดผลปอบิดด้วย 95% เอทานอล มีค่า
            ความเข้มข้นลงในแต่ละหลอด จากนั้นเติม top agar   ปริมาณเถ้ารวม 20.35 ± 0.10% ปริมาณเถ้าที่ไม่
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126