Page 124 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 124
556 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ภาพที่ 1 Background lawn ของเชื้อ S. typhimurium สายพันธุ์ TA100 โดยใช้กล้องจุลทรรศน์แบบหัวกลับ ที่กำาลังขยาย
10X ภาพ 1A แสดง background lawn ที่ปกติจะเห็นภาพพื้นหลังเต็มไม่มีการตายของเชื้อ ภาพ 1B แสดง
การเกิด Killing effect background lawn จะพบลักษณะของช่องว่างที่พื้นหลัง แสดงถึงการตายของเชื้อ
ภาพที่ 2 Background lawn ของเชื้อ S. typhimurium สายพันธุ์ TA1537 โดยใช้กล้องจุลทรรศน์แบบหัวกลับ ที่กำาลัง
ขยาย 10X ภาพ 2A 2B และ 2C แสดง background lawn ที่เกิด Killing effect background lawn จะพบ
ลักษณะของช่องว่างที่พื้นหลัง แสดงถึงการตายของเชื้อ และจะเห็นว่าการตายเพิ่มขึ้นแบบ Dose response
relationship ตามขนาดทดสอบที่เพิ่มขึ้น
มิลลิลิตร) ในระบบที่ไม่มีเอนไซม์กระตุ้น ผลการ test) ซึ่งอ้างอิงวิธีจาก OECD test guideline 471
ทดลองพบว่าทุกสายพันธุ์และทุกความเข้มข้นไม่ก่อ เป็นการทดสอบขั้นแรก เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานขั้นต้น
ให้เกิดการก่อกลายพันธุ์ โดยดูจากจำานวนโคโลนี ก่อนจะทำาการศึกษาในวิธีเชิงลึก เช่น ในสัตว์ทดลอง
กลายพันธุ์ไม่ได้เป็น 2 เท่าเมื่อเทียบกับ negative ทำาให้ได้ข้อสรุปที่แน่นอนในด้านความปลอดภัย
control และไม่พบความผิดปกติของ Background ของสารที่นำาไปทดสอบต่อไป ซึ่งการทดสอบฤทธิ์
lawn ในทุกสายพันธุ์และทุกความเข้มข้น (ตารางที่ 4) ก่อกลายพันธุ์ในเชื้อแบคทีเรียโดยวิธีเอมส์ เป็นการ
ทดสอบสารเคมี/สารสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
อภิปร�ยผล เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพันธุกรรมในเชื้อ
การทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์แบบย้อนกลับ แบคทีเรีย ซึ่งสารเคมีที่ส่งผลให้เกิดการกลายพันธุ์
โดยใช้แบคทีเรียหรือเรียกว่าวิธีทดสอบเอมส์ (Ames ต่อเซลล์ร่างกายเมื่อมีการบริโภคสิ่งเหนี่ยวนำาให้เกิด